รายงานการศึกษาเรื่องโทษประหารชีวิตในประเทศไทย

ISBN
9786167213224 (pbk.)
เลขเรียก
HV8699.T5 ท882 2557
ชื่อเรื่อง
รายงานการศึกษาเรื่องโทษประหารชีวิตในประเทศไทย/ คณะอนุกรรมการปฏิบัติการยุทธศาสตร์ด้านสิทธิในกระบวนการยุติธรรม สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ชื่อเรื่องที่แตกต่าง
โทษประหารชีวิตในประเทศไทย
ชื่อเรื่องที่แตกต่าง
Study report on death penalty in Thailand
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : คณะอนุกรรมการ, 2557.
รูปเล่ม
220 หน้า ; 30 ซม.+1 ซีดี-รอม.
หมายเหตุสารบัญ
บทที่ 1 บทนำ
--บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
--ความเป็นมา แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับโทษประหารประหารชีวิต
--พัฒนาการเกี่ยวกับการลงโทษประหารชีวิตในประเทศไทยและต่างประเทศ
--สถานการณ์เกี่ยวกับการประหารชีวิตในปัจจุบัน
--สิทธิมนุษยชนกับโทษประหารชีวิต
--โทษประหารชีวิตกับหลักการที่สำคัญในสังคมไทย
--บทที่ 3 ผลการเสวนา
--การเสวนา เรื่อง “โทษประหารชีวิต...สังคมไทยคิดอย่างไร”
--การเสวนา เรื่อง “โทษประหารชีวิต”
--บทที่ 4 บทวิเคราะห์
--บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ.
บทคัดย่อ
รายงานเรื่อง “โทษประหารชีวิตในประเทศไทย” พบว่าโทษประหารชีวิตเป็นการลงโทษผู้กระทำผิดที่มีกำหนดโทษสูงสุดของสังคมมาตั้งแต่อดีตจนกระทั่งถึงปัจจุบัน โดยในอดีตเป็นการลงโทษด้วยวิธีการที่โหดร้ายทารุณเพื่อแก้แค้นทดแทนต่อผู้กระทำผิดเป็นสำคัญ รวมทั้งเพื่อเป็นการข่มขู่ยับยั้งและการตัดโอกาสในการกระทำผิด เพื่อเป็นการตอบสนองต่อรัฐในการรักษาความสงบเรียบร้อยและความเป็นธรรมในสังคม หากแต่ปัจจุบันวัตถุประสงค์ของการลงโทษได้เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นการลงโทษเพื่อแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิดเป็นสำคัญ ประกอบกับการลงโทษประหารชีวิตเพื่อเป็นการแก้แค้นทดแทนไม่ได้ทำให้สังคมเกิดประโยชน์สูงสุดแต่ประการใด นอกจากนี้การใช้โทษประหารชีวิตไม่สามารถมีผลต่อการยับยั้งอาชญากรรมได้อย่างแท้จริง รวมทั้งกระแสการให้ความสำคัญต่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของประชาชนในสังคม ทำให้ประเทศส่วนใหญ่ได้มีการยกเลิกการใช้โทษประหารชีวิต เพราะการใช้โทษประหารชีวิตเป็นการกระทำที่ละเมิดต่อสิทธิมนุษยชน รวมทั้งเป็นการกระทำที่ขัดต่อหลักของศาสนา ด้วยเหตุนี้ปัจจุบันประเทศส่วนใหญ่ทั่วโลกจำนวนมากกว่าสองในสามได้ยกเลิกโทษประหารชีวิตในทางกฎหมายและในทางปฏิบัติ...
หัวเรื่องชื่อนิติบุคคล
หัวเรื่องชื่อนิติบุคคล
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
คำศัพท์
คำศัพท์
คำศัพท์
คำศัพท์
คำศัพท์
คำศัพท์เนื้อหา
ผู้แต่งนิติบุคคล
เชื่อมโยง
เชื่อมโยง
เชื่อมโยง
สารบัญ
LEADER : 00000nab 2200000uu 4500
008   141030s2557||||th 000 0 tha d
020   ^a9786167213224 (pbk.)
050  4^aHV8699.T5^bท882 2557
245 10^aรายงานการศึกษาเรื่องโทษประหารชีวิตในประเทศไทย/^cคณะอนุกรรมการปฏิบัติการยุทธศาสตร์ด้านสิทธิในกระบวนการยุติธรรม สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
246 30^aโทษประหารชีวิตในประเทศไทย
246  31^aStudy report on death penalty in Thailand
260   ^aกรุงเทพฯ :^bคณะอนุกรรมการ, ^c2557.
300   ^a220 หน้า ^c30 ซม.+^e1 ซีดี-รอม.
505 0 ^aบทที่ 1 บทนำ --^tบทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง --^tความเป็นมา แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับโทษประหารประหารชีวิต --^tพัฒนาการเกี่ยวกับการลงโทษประหารชีวิตในประเทศไทยและต่างประเทศ --^tสถานการณ์เกี่ยวกับการประหารชีวิตในปัจจุบัน --^tสิทธิมนุษยชนกับโทษประหารชีวิต --^tโทษประหารชีวิตกับหลักการที่สำคัญในสังคมไทย --^tบทที่ 3 ผลการเสวนา --^tการเสวนา เรื่อง “โทษประหารชีวิต...สังคมไทยคิดอย่างไร” --^tการเสวนา เรื่อง “โทษประหารชีวิต” --^tบทที่ 4  บทวิเคราะห์ --^tบทที่ 5  บทสรุปและข้อเสนอแนะ.
520   ^aรายงานเรื่อง  “โทษประหารชีวิตในประเทศไทย”  พบว่าโทษประหารชีวิตเป็นการลงโทษผู้กระทำผิดที่มีกำหนดโทษสูงสุดของสังคมมาตั้งแต่อดีตจนกระทั่งถึงปัจจุบัน  โดยในอดีตเป็นการลงโทษด้วยวิธีการที่โหดร้ายทารุณเพื่อแก้แค้นทดแทนต่อผู้กระทำผิดเป็นสำคัญ  รวมทั้งเพื่อเป็นการข่มขู่ยับยั้งและการตัดโอกาสในการกระทำผิด เพื่อเป็นการตอบสนองต่อรัฐในการรักษาความสงบเรียบร้อยและความเป็นธรรมในสังคม หากแต่ปัจจุบันวัตถุประสงค์ของการลงโทษได้เปลี่ยนแปลงไป  โดยเน้นการลงโทษเพื่อแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิดเป็นสำคัญ ประกอบกับการลงโทษประหารชีวิตเพื่อเป็นการแก้แค้นทดแทนไม่ได้ทำให้สังคมเกิดประโยชน์สูงสุดแต่ประการใด นอกจากนี้การใช้โทษประหารชีวิตไม่สามารถมีผลต่อการยับยั้งอาชญากรรมได้อย่างแท้จริง รวมทั้งกระแสการให้ความสำคัญต่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของประชาชนในสังคม ทำให้ประเทศส่วนใหญ่ได้มีการยกเลิกการใช้โทษประหารชีวิต  เพราะการใช้โทษประหารชีวิตเป็นการกระทำที่ละเมิดต่อสิทธิมนุษยชน รวมทั้งเป็นการกระทำที่ขัดต่อหลักของศาสนา ด้วยเหตุนี้ปัจจุบันประเทศส่วนใหญ่ทั่วโลกจำนวนมากกว่าสองในสามได้ยกเลิกโทษประหารชีวิตในทางกฎหมายและในทางปฏิบัติ...
610 20^aสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ^xวิจัย
610  20^aสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ^xรายงานการวิจัย  
650  4^aการประหารชีวิตและเพชฌฆาต^zไทย  
650  4^aการลงโทษ^zไทย  
650  4^aสิทธิมนุษยชน^zไทย
653   ^aประหารชีวิต   
653   ^aสิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคล (Personal Rights and Liberties)   
653   ^aสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย (Right and liberty in the life and person)   
653   ^aการทรมาน (Torture)   
653   ^aสิทธิในกระบวนการยุติธรรม (Rights in Judicial Process)
655   ^aรายงานการวิจัย 
710 2 ^aคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. ^bคณะอนุกรรมการปฏิบัติการยุทธศาสตร์ด้านสิทธิในกระบวนการยุติธรรม
856 40^zE-book^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/ebook/E08301/ebook.html
856 40^zเอกสารฉบับเต็ม^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Fulltext/F08301.pdf
856 40^zบทสรุปผู้บริหาร^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Abstract/A08301.pdf
856 40^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T08301.pdf
917   ^aNHRC :^c500
955   ^a5 เล่ม
999   ^anopparat
เลื่อนขึ้นด้านบน