มาตรการทางกฎหมายในการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองท้องถิ่น : ศึกษากรณีเทศบาล

ประเภท เลขเรียก สถานที่ สถานะ

JS7153.7.A15 อ873 2546

มุมวิทยานิพนธ์ & วิจัย บนชั้น ขอยืม
ISBN
9740908608 (hbk.)
เลขเรียก
JS7153.7.A15 อ873 2546
ผู้แต่ง
ชื่อเรื่อง
มาตรการทางกฎหมายในการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองท้องถิ่น : ศึกษากรณีเทศบาล / เอกดนัย บุญนำ
ชื่อเรื่องที่แตกต่าง
Legal Measures Concerning The Participate of People in Local Government : A Case Study Municipality
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2546.
รูปเล่ม
(16), 198 แผ่น ; 30 ซม.
หมายเหตุวิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์ (น.ม.) -- มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2546
บทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยพบว่าพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ไม่ได้เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานของเทศบาลอย่างแท้จริง เช่นประชาชนไม่มีสิทธิร้องขอให้มีการออกเสียงประชามติโดยตรงและผลของการออกเสียงประชามติไม่ผูกพันสภาเทศบาลและนายกเทศมนตรีต้องปฏิบัติตามรวมทั้งประชาชนไม่ได้มีส่วนร่วมตัดสินใจในปัญหาที่กระทบถึงประโยชน์ได้เสียของเทศบาลหรือประชาชนในท้องถิ่น กรณีสภาเทศบาลไม่ผ่านร่างเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายหรือกรณีที่นายกเทศมนตรีเสนอร่างเทศบัญญัติที่จำเป็นในการบริหารงานของเทศบาล นอกจากนั้นพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496มิได้บัญญัติให้เทศบาลมีหน่วยงานหรือคณะกรรมการที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนดังนั้นจึงควรแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารงานของเทศบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่น.
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
คำศัพท์เนื้อหา
ผู้แต่งนิติบุคคล
สารบัญ
LEADER : 00000nab 2200000uu 4500
008   120507s2546||||th m 000 0 tha d
020   ^a9740908608 (hbk.)
050  4^aJS7153.7.A15^bอ873 2546
100 0 ^aเอกดนัย บุญนำ
245 10^aมาตรการทางกฎหมายในการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองท้องถิ่น :^bศึกษากรณีเทศบาล /^cเอกดนัย บุญนำ
246 31^aLegal Measures Concerning The Participate of People in Local Government : A Case Study Municipality
260   ^aกรุงเทพฯ :^bคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ^c2546.
300   ^a(16), 198 แผ่น ^c30 ซม.
502   ^aวิทยานิพนธ์ (น.ม.) -- มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2546
520 3 ^aการศึกษาวิจัยพบว่าพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ไม่ได้เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานของเทศบาลอย่างแท้จริง เช่นประชาชนไม่มีสิทธิร้องขอให้มีการออกเสียงประชามติโดยตรงและผลของการออกเสียงประชามติไม่ผูกพันสภาเทศบาลและนายกเทศมนตรีต้องปฏิบัติตามรวมทั้งประชาชนไม่ได้มีส่วนร่วมตัดสินใจในปัญหาที่กระทบถึงประโยชน์ได้เสียของเทศบาลหรือประชาชนในท้องถิ่น กรณีสภาเทศบาลไม่ผ่านร่างเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายหรือกรณีที่นายกเทศมนตรีเสนอร่างเทศบัญญัติที่จำเป็นในการบริหารงานของเทศบาล นอกจากนั้นพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496มิได้บัญญัติให้เทศบาลมีหน่วยงานหรือคณะกรรมการที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนดังนั้นจึงควรแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารงานของเทศบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่น.
650  4^aการปกครองท้องถิ่น^xการมีส่วนร่วมของประชาชน  
650  4^aเทศบาล^xการมีส่วนร่วมของประชาชน
655  4^aวิทยานิพนธ์
710 2 ^aมหาวิทยาลัยรามคำแหง. ^bคณะนิติศาสตร์
856 40^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T02268.pdf
917   ^aLIB :^c500
955   ^a1 เล่ม
999   ^acat4
เลื่อนขึ้นด้านบน