ป่าสองน้ำ คนสองวัฒนธรรม

ประเภท เลขเรียก สถานที่ สถานะ

H62 ก941 2547

มุมหนังสือทั่วไป บนชั้น ขอยืม
ISBN
9749666097 (pbk.)
เลขเรียก
H62 ก941 2547
ผู้แต่ง
ชื่อเรื่อง
ป่าสองน้ำ คนสองวัฒนธรรม / โกมล สนั่นก้อง
ชื่อเรื่องที่แตกต่าง
ป่าสองน้ำ คนสองวัฒนธรรม : รวมบทความ หลักคิด แนวทาง ปฏิบัติการ งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น
พิมพลักษณ์
เชียงใหม่ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สำนักงานภาค, 2547.
รูปเล่ม
141 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซม.
หมายเหตุสารบัญ
การเชื่อมพลังทางปัญญาของสังคม จุดเปลี่ยนอยู่ตรงไหน
--ความรู้กับการพัฒนาท้องถิ่น
--หน่วยจัดการความรู้ที่เป็นอิสระของท้องถิ่น กับบทบาทพี่เลี้ยง และศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น
--การสร้างความรู้เพื่อขับเคลื่อนงานพัฒนาและแก้ปัญหาท้องถิ่น
--ทางเลือกของเกษตรกรกับการสร้างความรู้เพื่อท้องถิ่น
--การทำงานกับชุมชนและการสร้างศรัทธาจากชาวบ้าน
--ข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อท้องถิ่น และหลักเกณฑ์การพิจารณาบนแผ่นกระดาษ
--การพิจารณาคุณภาพงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น
--จากเป้าหมายสู้แนวทางติดตามสนับสนุนงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น
--การวิเคราะห์สถานการณ์โครงการเพื่อการติดตามสนับสนุบ
--การวางแผนและการบริหารงบประมาณเพื่อสนับสนุนงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น
--การจัดการชุดประเด็นและการบูรณาการงานวิจัย
--ข้อมูลความรู้ การเขียนและการพัฒนาศักยภาพคนทำงาน
--ศึกษากระบวนการทำงานและผลงาน RC/Node ได้จากอะไร
--พัฒนาหลักสูตร การเตรียมความพร้อมนักวิจัย
--กระบวนการถอดความรู้จากโครงการวิจัยเพื่อท้องถิ่นอย่างมีส่วนร่วม
--หลักสูตร เมื่อชาวบ้านจะเขียนรายงานการวิจัย จะทำอย่างไรดี
--การบริหารขบวนการ : ปฐมเหตุแห่งความล้มเหลว นัยต่อการเติบโตของขบวนการใหม่ทางสังคม.
บทคัดย่อ
ป่าสองน้ำ คนสองวัฒนธรรม หมายความว่า เราเกิดจากภูมิปัญญาไทย แต่ไปศึกษาเรียนรู้จากภายนอก แล้วนำความรู้ที่ผ่านการศึกษากลับมาพัฒนาท้องถิ่นตนเอง แต่ไม่สามารถใช้ความรู้ที่ร่ำเรียนมาแก้ไขปัญหาชาวบ้านได้ แต่กลับพบว่าความรู้อยู่ในท้องถิ่นของตนเองที่เราลืมไป การสร้างความรู้ด้วยงานวิจัยท้องถิ่นได้ถือกำเนิดขึ้นจากการครอบโลกของโลกาภิวัฒน์ที่อยู่เหนือภูมิปัญญาท้องถิ่น จนทำให้ท้องถิ่นต้องพึ่งพาภายนอก ไม่เพียงแต่การพึ่งพาปัจจัยในการดำรงชีวิตเท่านั้น หากแต่ได้เปลี่ยนวิธีคิดและแนวคิดการพัฒนาที่ฝังลึกอยู่ในสมอง คนไทยผ่านระบบการศึกษาการวิจัยและการพัฒนาประเทศมากกว่า 40 ปีหนังสือเล่มนี้เป็นบันทึก หลักคิดแนวทาง และปฏิบัติการงานวิจัยท้องถิ่นของผู้ที่ได้สัมผัสงานด้านนี้ได้เห็นการก่อรูป การแสวงหาทางเดิน การตกผลึกทางความคิดถ่ายทอดมาให้ผู้สนใจ.
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
ผู้แต่งนิติบุคคล
สารบัญ
LEADER : 00000nab 2200000uu 4500
008   120422s2547||||th a 000 0 tha d
020   ^a9749666097 (pbk.)
050  4^aH62^bก941 2547
100 0 ^aโกมล สนั่นก้อง
245 10^aป่าสองน้ำ คนสองวัฒนธรรม /^cโกมล สนั่นก้อง
246 34^aป่าสองน้ำ คนสองวัฒนธรรม :^bรวมบทความ หลักคิด แนวทาง ปฏิบัติการ งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น 
260   ^aเชียงใหม่ :^bสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สำนักงานภาค, ^c2547.
300   ^a141 หน้า :^bภาพประกอบ ^c21 ซม.
505 0 ^aการเชื่อมพลังทางปัญญาของสังคม จุดเปลี่ยนอยู่ตรงไหน -- ^tความรู้กับการพัฒนาท้องถิ่น -- ^tหน่วยจัดการความรู้ที่เป็นอิสระของท้องถิ่น กับบทบาทพี่เลี้ยง และศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น -- ^tการสร้างความรู้เพื่อขับเคลื่อนงานพัฒนาและแก้ปัญหาท้องถิ่น -- ^tทางเลือกของเกษตรกรกับการสร้างความรู้เพื่อท้องถิ่น -- ^tการทำงานกับชุมชนและการสร้างศรัทธาจากชาวบ้าน -- ^tข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อท้องถิ่น และหลักเกณฑ์การพิจารณาบนแผ่นกระดาษ -- ^tการพิจารณาคุณภาพงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น -- ^tจากเป้าหมายสู้แนวทางติดตามสนับสนุนงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น -- ^tการวิเคราะห์สถานการณ์โครงการเพื่อการติดตามสนับสนุบ -- ^tการวางแผนและการบริหารงบประมาณเพื่อสนับสนุนงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น -- ^tการจัดการชุดประเด็นและการบูรณาการงานวิจัย -- ^tข้อมูลความรู้ การเขียนและการพัฒนาศักยภาพคนทำงาน -- ^tศึกษากระบวนการทำงานและผลงาน RC/Node ได้จากอะไร -- ^tพัฒนาหลักสูตร การเตรียมความพร้อมนักวิจัย -- ^tกระบวนการถอดความรู้จากโครงการวิจัยเพื่อท้องถิ่นอย่างมีส่วนร่วม -- ^tหลักสูตร เมื่อชาวบ้านจะเขียนรายงานการวิจัย จะทำอย่างไรดี -- ^tการบริหารขบวนการ : ปฐมเหตุแห่งความล้มเหลว นัยต่อการเติบโตของขบวนการใหม่ทางสังคม.
520   ^aป่าสองน้ำ คนสองวัฒนธรรม หมายความว่า เราเกิดจากภูมิปัญญาไทย แต่ไปศึกษาเรียนรู้จากภายนอก แล้วนำความรู้ที่ผ่านการศึกษากลับมาพัฒนาท้องถิ่นตนเอง แต่ไม่สามารถใช้ความรู้ที่ร่ำเรียนมาแก้ไขปัญหาชาวบ้านได้ แต่กลับพบว่าความรู้อยู่ในท้องถิ่นของตนเองที่เราลืมไป การสร้างความรู้ด้วยงานวิจัยท้องถิ่นได้ถือกำเนิดขึ้นจากการครอบโลกของโลกาภิวัฒน์ที่อยู่เหนือภูมิปัญญาท้องถิ่น จนทำให้ท้องถิ่นต้องพึ่งพาภายนอก ไม่เพียงแต่การพึ่งพาปัจจัยในการดำรงชีวิตเท่านั้น หากแต่ได้เปลี่ยนวิธีคิดและแนวคิดการพัฒนาที่ฝังลึกอยู่ในสมอง คนไทยผ่านระบบการศึกษาการวิจัยและการพัฒนาประเทศมากกว่า 40 ปีหนังสือเล่มนี้เป็นบันทึก หลักคิดแนวทาง และปฏิบัติการงานวิจัยท้องถิ่นของผู้ที่ได้สัมผัสงานด้านนี้ได้เห็นการก่อรูป  การแสวงหาทางเดิน การตกผลึกทางความคิดถ่ายทอดมาให้ผู้สนใจ.
650  4^aการพัฒนาชุมชน^zไทย  
650  4^aการพัฒนาชนบท^zไทย
710 2 ^aสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.^bสำนักงานภาค
856 40^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T01438.pdf
917   ^aLIB :^c185
955   ^aT1907^b1 เล่ม
999   ^acat1
เลื่อนขึ้นด้านบน