กฎหมายสวัสดิการสังคมของประเทศไทย

ประเภท เลขเรียก สถานที่ สถานะ

KPT1472 น645 2565

มุมหนังสือทั่วไป บนชั้น ขอยืม
เลขเรียก
KPT1472 น645 2565
ผู้แต่ง
ชื่อเรื่อง
กฎหมายสวัสดิการสังคมของประเทศไทย/ นิรมัย พิศแข มั่นจิตร
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2565.
รูปเล่ม
440 หน้า : ภาพประกอบ ; 26 ซม.
หมายเหตุสารบัญ
ส่วนที่หนึ่ง : ข้อความคิดทั่วไปว่าด้วยกฎหมายสวัสดิการสังคมของประเทศไทย
--ข้อความเบื้องต้น
--บทที่ 1 ข้อความคิดพื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายสวัสดิการสังคมของประเทศไทย
--บทที่ 2 สาระสำคัญว่าด้วยกฎหมายสวัสดิการสังคมของประเทศไทย
--บทสรุปและข้อสังเกตที่สำคัญ.
หมายเหตุสารบัญ
ส่วนที่สอง : การจัดสวัสดิการสังคมตามประเภทบริการขั้นพื้นฐาน
--ข้อความเบื้องต้น
--บทที่ 3 กฎหมายกับการจัดสวัสดิการสังคมด้านการศึกษาและการมีงานทำ
--บทที่ 4 กฎหมายกับการจัดสวัสดิการสังคมด้านบริการสาธารณสุขและด้านที่อยู่อาศัย
--บทสรุปและข้อสังเกตที่สำคัญ.
หมายเหตุสารบัญ
ส่วนที่สาม : การจัดสวัสดิการสังคมขั้นพื้นฐานให้แก่กลุ่มบุคคลที่มีข้อจำกัด
--ข้อความเบื้องต้น
--บทที่ 5 กฎหมายกับการจัดสวัสดิการสังคมสำหรับคนพิการ
--บทที่ 6 กฎหมายกับการจัดสวัสดิการสังคมสำหรับสตรีและสถาบันครอบครัว
--บทที่ 7 กฎหมายกับการจัดสวัสดิการสังคมสำหรับเด็กและเยาวชน
--บทที่ 8 กฎหมายกับการจัดสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุ
--บทที่ 9 กฎหมายกับการจัดสวัสดิการสังคมสำหรับคนไร้ที่พึ่ง
--บทสรุปและข้อสังเกตที่สำคัญ.
บทคัดย่อ
หนังสือเล่มนี้มุ่งเน้นการศึกษาในเชิงนิติศาสตร์ (legal approach) เป็นสำคัญ โดยรวบรวมองค์ความรู้และนำเสนอคำอธิบายว่าด้วยสาระสำคัญของหลักการและกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นระบบ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนแรกว่าด้วยข้อความคิดทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายสวัสดิการสังคมของประเทศไทย ส่วนที่สองว่าด้วยการจัดสวัสดิการสังคมตามประเภทบริการขั้นพื้นฐานให้แก่ประชาชนทุกคน ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษา การมีงานทำ บริการสาธารณสุข และที่อยู่อาศัย และส่วนที่สามว่าด้วยการจัดสวัสดิการสังคม ขั้นพื้นฐานให้แก่กลุ่มบุคคลที่มีข้อจำกัด ไม่ว่าจะเป็นคนพิการ สตรีและสถาบันครอบครัวเด็กและเยาวชน ผู้สูงอายุ และคนไร้ที่พึ่ง นอกจากนี้ผู้เขียนยังได้สอดแทรกตัวอย่างคำพิพากษาและความเห็นที่สำคัญของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจเนื้อหาและเห็นประเด็นข้อพิพาทที่เกิดขึ้นจริง อีกทั้งยังได้นำเสนอความคิดเห็นและการวิเคราะห์ของผู้เขียนไว้ในหนังสืออีกด้วย หนังสือเล่มนี้จึงเป็นประโยชน์ทั้งสำหรับ นักกฎหมาย นักสังคมสงเคราะห์ ผู้ที่ทำงานด้านสวัสดิการสังคม และประชาขนทั่วไป.
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
สารบัญ
LEADER : 00000nab 2200000uu 4500
008   240808s2565||||th 000 0 tha d
050  4^aKPT1472^bน645 2565
100 0 ^aนิรมัย พิศแข มั่นจิตร
245 00^aกฎหมายสวัสดิการสังคมของประเทศไทย/^cนิรมัย พิศแข มั่นจิตร
260   ^aกรุงเทพฯ :^bโครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ^c2565.
300   ^a440 หน้า :^bภาพประกอบ ^c26 ซม.
505 0 ^aส่วนที่หนึ่ง : ข้อความคิดทั่วไปว่าด้วยกฎหมายสวัสดิการสังคมของประเทศไทย --^tข้อความเบื้องต้น --^tบทที่ 1 ข้อความคิดพื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายสวัสดิการสังคมของประเทศไทย --^tบทที่ 2 สาระสำคัญว่าด้วยกฎหมายสวัสดิการสังคมของประเทศไทย --^tบทสรุปและข้อสังเกตที่สำคัญ.
505 0 ^aส่วนที่สอง : การจัดสวัสดิการสังคมตามประเภทบริการขั้นพื้นฐาน --^tข้อความเบื้องต้น --^tบทที่ 3 กฎหมายกับการจัดสวัสดิการสังคมด้านการศึกษาและการมีงานทำ --^tบทที่ 4 กฎหมายกับการจัดสวัสดิการสังคมด้านบริการสาธารณสุขและด้านที่อยู่อาศัย --^tบทสรุปและข้อสังเกตที่สำคัญ.
505 0 ^aส่วนที่สาม : การจัดสวัสดิการสังคมขั้นพื้นฐานให้แก่กลุ่มบุคคลที่มีข้อจำกัด --^tข้อความเบื้องต้น --^tบทที่ 5 กฎหมายกับการจัดสวัสดิการสังคมสำหรับคนพิการ --^tบทที่ 6 กฎหมายกับการจัดสวัสดิการสังคมสำหรับสตรีและสถาบันครอบครัว --^tบทที่ 7 กฎหมายกับการจัดสวัสดิการสังคมสำหรับเด็กและเยาวชน --^tบทที่ 8 กฎหมายกับการจัดสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุ --^tบทที่ 9 กฎหมายกับการจัดสวัสดิการสังคมสำหรับคนไร้ที่พึ่ง --^tบทสรุปและข้อสังเกตที่สำคัญ.
520 3 ^aหนังสือเล่มนี้มุ่งเน้นการศึกษาในเชิงนิติศาสตร์ (legal approach) เป็นสำคัญ โดยรวบรวมองค์ความรู้และนำเสนอคำอธิบายว่าด้วยสาระสำคัญของหลักการและกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นระบบ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนแรกว่าด้วยข้อความคิดทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายสวัสดิการสังคมของประเทศไทย ส่วนที่สองว่าด้วยการจัดสวัสดิการสังคมตามประเภทบริการขั้นพื้นฐานให้แก่ประชาชนทุกคน ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษา การมีงานทำ บริการสาธารณสุข และที่อยู่อาศัย และส่วนที่สามว่าด้วยการจัดสวัสดิการสังคม ขั้นพื้นฐานให้แก่กลุ่มบุคคลที่มีข้อจำกัด ไม่ว่าจะเป็นคนพิการ สตรีและสถาบันครอบครัวเด็กและเยาวชน ผู้สูงอายุ และคนไร้ที่พึ่ง นอกจากนี้ผู้เขียนยังได้สอดแทรกตัวอย่างคำพิพากษาและความเห็นที่สำคัญของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจเนื้อหาและเห็นประเด็นข้อพิพาทที่เกิดขึ้นจริง อีกทั้งยังได้นำเสนอความคิดเห็นและการวิเคราะห์ของผู้เขียนไว้ในหนังสืออีกด้วย หนังสือเล่มนี้จึงเป็นประโยชน์ทั้งสำหรับ นักกฎหมาย นักสังคมสงเคราะห์ ผู้ที่ทำงานด้านสวัสดิการสังคม และประชาขนทั่วไป.
650  4^aนักสังคมสงเคราะห์^xกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ^zไทย  
650  4^aสวัสดิการสังคม  
650  4^aบริการสังคม^xกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ^zไทย
856 40^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T13951.pdf
917   ^aWY :^c420
955   ^a1 เล่ม
999   ^anopparat
เลื่อนขึ้นด้านบน