ใต้เงาปฏิวัติ : การสืบราชการลับและความคาดหวังของราษฎรหลัง 2475

ประเภท เลขเรียก สถานที่ สถานะ

DS584 ป145 2566

มุมหนังสือทั่วไป บนชั้น ขอยืม
ISBN
9789740218470 (pbk.)
เลขเรียก
DS584 ป145 2566
ผู้แต่ง
ชื่อเรื่อง
ใต้เงาปฏิวัติ : การสืบราชการลับและความคาดหวังของราษฎรหลัง 2475/ ปฐมาวดี วิเชียรนิตย์
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : มติชน ; 2566.
รูปเล่ม
12, 281 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซม.
หมายเหตุทั่วไป
ฉบับพิเศษของวารสารชื่อ ศิลปวัฒนธรรม. แก้ไขและเพิ่มเติมจาก: ความคาดหวังของราษฎรที่มีต่อระบอบการเมืองใหม่ภายหลังการปฏิวัติ พ.ศ.2475.
บทคัดย่อ
ภายหลังการปฏิวัติ พ.ศ. 2475 คณะราษฎรได้สถาปนาระบอบการเมืองใหม่ในสยาม ราษฎรจึงตื่นขึ้นจากการหลับใหลการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในคราวนี้ มิใช่การทำลายล้างโครงสร้างการเมืองแบบเก่า เนื่องด้วยปัจจัยหลายประการที่บีบให้คณะราษฎรต้องเจรจากับฝ่ายชนชั้นเดิมเพื่อรักษาการปฏิวัติและระบอบการเมืองที่เพิ่งตั้งไข่ให้ดำเนินต่อไปได้ การประนีประนอมหลังการปฏิวัติจึงเกิดขึ้น โดยมีดอกผลเป็นรัฐธรรมนูญฉบับวันที่ 10 ธันวาคม 2475 ทว่า ภายใต้การประนีประนอมของชนชั้นนำเก่ากับคณะราษฎรและการเฉลิมฉลองชื่นมื่นในระบอบการเมืองใหม่นั้น กลับเกิดอารมณ์ความรู้สึกที่หลากหลายในสังคม ทั้งความรู้สึกหวาดระแวงและความคาดหวังที่เกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์อันคลุมเครือไม่แน่นอน หลักฐานจดหมายราษฎรและเอกสารสืบราชการลับบอกเล่าบรรยากาศในสังคมสยามหลังปฏิวัติไว้อย่างนั้นสนใจ โดยเฉพาะอารมณ์ความรู้สึกของสังคมที่มีต่อความเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่เช่นการปฏิวัติ พ.ศ. 2475.
หัวเรื่อง
หัวเรื่องภูมิศาสตร์
หัวเรื่องภูมิศาสตร์
คำศัพท์
สารบัญ
LEADER : 00000nab 2200000uu 4500
008   240820s2566||||th a 000 0ttha d
020   ^a9789740218470 (pbk.)
050  4^aDS584^bป145 2566
100 0 ^aปฐมาวดี วิเชียรนิตย์
245 00^aใต้เงาปฏิวัติ :^bการสืบราชการลับและความคาดหวังของราษฎรหลัง 2475/^cปฐมาวดี วิเชียรนิตย์
260   ^aกรุงเทพฯ :^bมติชน ^c2566.
300   ^a12, 281 หน้า :^bภาพประกอบ ^c21 ซม.
500   ^aฉบับพิเศษของวารสารชื่อ ศิลปวัฒนธรรม. แก้ไขและเพิ่มเติมจาก: ความคาดหวังของราษฎรที่มีต่อระบอบการเมืองใหม่ภายหลังการปฏิวัติ พ.ศ.2475.
520   ^aภายหลังการปฏิวัติ พ.ศ. 2475 คณะราษฎรได้สถาปนาระบอบการเมืองใหม่ในสยาม ราษฎรจึงตื่นขึ้นจากการหลับใหลการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในคราวนี้ มิใช่การทำลายล้างโครงสร้างการเมืองแบบเก่า เนื่องด้วยปัจจัยหลายประการที่บีบให้คณะราษฎรต้องเจรจากับฝ่ายชนชั้นเดิมเพื่อรักษาการปฏิวัติและระบอบการเมืองที่เพิ่งตั้งไข่ให้ดำเนินต่อไปได้ การประนีประนอมหลังการปฏิวัติจึงเกิดขึ้น โดยมีดอกผลเป็นรัฐธรรมนูญฉบับวันที่ 10 ธันวาคม 2475  ทว่า ภายใต้การประนีประนอมของชนชั้นนำเก่ากับคณะราษฎรและการเฉลิมฉลองชื่นมื่นในระบอบการเมืองใหม่นั้น กลับเกิดอารมณ์ความรู้สึกที่หลากหลายในสังคม ทั้งความรู้สึกหวาดระแวงและความคาดหวังที่เกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์อันคลุมเครือไม่แน่นอน หลักฐานจดหมายราษฎรและเอกสารสืบราชการลับบอกเล่าบรรยากาศในสังคมสยามหลังปฏิวัติไว้อย่างนั้นสนใจ โดยเฉพาะอารมณ์ความรู้สึกของสังคมที่มีต่อความเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่เช่นการปฏิวัติ พ.ศ. 2475.
650  4^aปฏิวัติ^zไทย
651  4^aไทย^xประวัติศาสตร์^yกรุงรัตนโกสินทร์^yรัชกาลที่ 7^yรัฐประหาร 2475  
651  4^aไทย^xการเมืองและการปกครอง
653   ^aNew Arrivals 10-2024
856 40^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T13741.pdf
917   ^aCU :^c320
955   ^a1 เล่ม
999   ^anopparat
เลื่อนขึ้นด้านบน