สถาบันพระมหากษัตริย์กับสังคมไทย

ประเภท เลขเรียก สถานที่ สถานะ

DS570.3.A1 ป469 2558

มุมวิทยานิพนธ์ & วิจัย บนชั้น ขอยืม
ISBN
9789744498137 (pbk.)
เลขเรียก
DS570.3.A1 ป469 2558
ผู้แต่ง
ชื่อเรื่อง
สถาบันพระมหากษัตริย์กับสังคมไทย / ปรีชา หงษ์ไกรเลิศ ... [และคนอื่น ๆ]
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2558.
รูปเล่ม
372 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซม.
หมายเหตุสารบัญ
บทที่ 1 บทนำ
--บทที่ 2 กรอบทฤษฎีและแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย : รัฐ-ชาติ-กษัตริย์
--บทที่ 3 สถาบันพระมหากษัตริย์กับสังคมไทย
--บทที่ 4 สถาบันพระมหากษัตริย์ในประเทศอังกฤษและประเทศญี่ปุ่น
--บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ
บทคัดย่อ
งานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานะและบทบาทของสถาบันพระมหากษัตริย์ในสังคมไทยปัจจุบัน และเพื่อให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์อย่างแท้จริง งานวิจัยนี้จะทำการศึกษาเปรียบเทียบของสถาบันพระมหากษัตริย์ชของประเทศอังกฤษและญี่ปุ่น เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้องจากปัญหาการวิพากษ์วิจารณ์สถาบันพระมหากษัตริย์กันอย่างกว้างขวางผ่านสื่อสังคมออนไลน์ในปัจจุบัน ผลการวิจัยพบว่า ทัศนคติและความเชื่อของคนไทยที่มีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ยังมีอย่างเหนียวแน่นผูกพันกันอย่างแยกไม่ออก ขณะที่สถาบันพระมหากษัตริย์ไทยมีการปรับตัวเข้ากับสภาวการณ์ของการเปลี่ยนแปลงของสังคมตลอดมาทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์ไทยมีความทันสมัย ส่งผลดีต่อเสถียรภาพทางการเมืองและผลประโยชน์ของชาติ
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่องภูมิศาสตร์
หัวเรื่องภูมิศาสตร์
หัวเรื่องภูมิศาสตร์
ผู้แต่งร่วม
ผู้แต่งนิติบุคคล
สารบัญ
LEADER : 00000nab 2200000uu 4500
008   200514s2558||||th a 000 0 tha d
020   ^a9789744498137 (pbk.)
050  4^aDS570.3.A1^bป469 2558
100 0 ^aปรีชา หงษ์ไกรเลิศ
245 00^aสถาบันพระมหากษัตริย์กับสังคมไทย /^cปรีชา หงษ์ไกรเลิศ ... [และคนอื่น ๆ]
260   ^aกรุงเทพฯ :^bสถาบันพระปกเกล้า, ^c2558.
300   ^a372 หน้า :^bภาพประกอบ ^c21 ซม.
505 0 ^aบทที่ 1 บทนำ --^tบทที่ 2 กรอบทฤษฎีและแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย : รัฐ-ชาติ-กษัตริย์ --^tบทที่ 3 สถาบันพระมหากษัตริย์กับสังคมไทย --^tบทที่ 4 สถาบันพระมหากษัตริย์ในประเทศอังกฤษและประเทศญี่ปุ่น --^tบทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ
520   ^aงานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานะและบทบาทของสถาบันพระมหากษัตริย์ในสังคมไทยปัจจุบัน และเพื่อให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์อย่างแท้จริง งานวิจัยนี้จะทำการศึกษาเปรียบเทียบของสถาบันพระมหากษัตริย์ชของประเทศอังกฤษและญี่ปุ่น เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้องจากปัญหาการวิพากษ์วิจารณ์สถาบันพระมหากษัตริย์กันอย่างกว้างขวางผ่านสื่อสังคมออนไลน์ในปัจจุบัน ผลการวิจัยพบว่า ทัศนคติและความเชื่อของคนไทยที่มีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ยังมีอย่างเหนียวแน่นผูกพันกันอย่างแยกไม่ออก ขณะที่สถาบันพระมหากษัตริย์ไทยมีการปรับตัวเข้ากับสภาวการณ์ของการเปลี่ยนแปลงของสังคมตลอดมาทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์ไทยมีความทันสมัย ส่งผลดีต่อเสถียรภาพทางการเมืองและผลประโยชน์ของชาติ
650  4^aกษัตริย์และผู้ครองนคร^zไทย  
650  4^aกษัตริย์และผู้ครองนคร^zอังกฤษ  
650  4^aกษัตริย์และผู้ครองนคร^zญี่ปุ่น  
650  4^aกษัตริย์และผู้ครองนคร^xพระราชกรณียกิจ
651  4^aไทย^zการเมืองและการปกครอง   
651  4^aอังกฤษ^zการเมืองและการปกครอง   
651  4^aญี่ปุ่น^zการเมืองและการปกครอง 
700 0 ^aปรีชา หงษ์ไกรเลิศ
710 2 ^aสถาบันพระปกเกล้า 
856 40^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T11918.pdf
917   ^aGift :^c120
955   ^a1 เล่ม
999   ^aKeyrunya
เลื่อนขึ้นด้านบน