คู่มือประชาชนว่าด้วยการใช้เสรีภาพในการชุมนุม : ตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558

ประเภท เลขเรียก สถานที่ สถานะ

KPT2483.A9 ค695 2561

มุมหนังสือทั่วไป บนชั้น ขอยืม
เลขเรียก
KPT2483.A9 ค695 2561
ชื่อเรื่อง
คู่มือประชาชนว่าด้วยการใช้เสรีภาพในการชุมนุม : ตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 / มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม, 2561.
รูปเล่ม
47 หน้า : ภาพประกอบ ; 18 ซม.
หมายเหตุสารบัญ
องค์ประกอบของการชุมนุมสาธารณะ
--การชุมนุนหรือกิจกรรมที่ไม่อยู่ในบังคับ พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะฯ
--เงื่อนไขข้อจำกัดเรื่องสถานที่และลักษณะการชุมนุม
--การแจ้งการชุมนุมสาธารณะ
--ขั้นตอนการปฏิบัติของตำรวจกรณีเห็นว่าการชุมนุมที่รับแจ้งขัดต่อเงื่อนไขเรื่องสถานที่และลักษณะการชุมนุม
--หน้าที่ของเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะผู้จัดการชุมนุม และผู้ชุมนุม
--ขั้นตอนการดำเนินการของเจ้าหน้าที่ตำรวจเพื่อให้เลิกการชุมนุมสาธารณะที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
--กรณีตัวอย่างการใช้สิทธิทางศาลเพื่อคุ้มครองเสรีภาพการชุมนุม
--อุปสรรคการใช้เสรีภาพการชุมนุมของประชาชน.
บทคัดย่อ
เสรีภาพการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ (Freedom of Peaceful Assembly) เป็นเสรีภาพที่ได้ รับการรับรองและคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ​และกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICCPR) และถือเป็นเรื่องปกติในสังคมประชาธิปไตยที่ประชาชนจะออกมารวมตัวกันเพื่อส่งเสียงเรียกร้องให้รัฐบาลหน่วงานที่มีอำนาจหน้าที่ได้รับรู้และตอบสนองต่อปัญหาความเดือดร้อน เพื่อแสดงออกและรณรงค์ต่อสาธารณะในจุดยืนความคิดเห็นเรื่องหนึ่งเรื่องใด เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง แต่การรวมตัวกันเพื่อใช้เสรีภาพการชุมนุม ในปัจจุบันมีเงื่อนไขขั้นตอนและกฎเกณฑ์ท่ีเคร่งครัด เพิ่มมากข้ึนนับตั้งแต่มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.2558 ประชาชนที่ต้องการใช้เสรีภาพการชุมนุมท้ังผู้จัดและผู้เข้าร่วมชุมนุมจึงควร ได้ศึกษาทำความเข้าใจทั้งข้อกฎหมายและแนวทางปฏิบัติเพื่อให้การชุมนุมสาธารณะสามารถดำเนินไปได้โดยไม่มีอุปสรรคและเพื่อปกป้องรักษาสิทธิเสรีภาพของตนเองไม่ให้ถูกละเมิดจากการตีความบังคับใช้กฎหมายที่ไม่ถูกต้องของเจ้าหน้าที่รัฐ คู่มือฉบับนี้ จัดทำโดยความร่วมมือระหว่าง สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน และไอลอว์.
หมายเหตุแหล่งที่มา
อภินันทนาการจากนางสาวเกศริน เตียวสกุล
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
คำศัพท์
คำศัพท์
คำศัพท์
ผู้แต่งนิติบุคคล
ผู้แต่งนิติบุคคล
ผู้แต่งนิติบุคคล
เชื่อมโยง
สารบัญ
LEADER : 00000nab 2200000uu 4500
008   200103s2561||||th a 000 0 tha d
050  4^aKPT2483.A9^bค695 2561
245 10^aคู่มือประชาชนว่าด้วยการใช้เสรีภาพในการชุมนุม :^bตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 /^cมูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม
250   ^aพิมพ์ครั้งที่ 2.
260   ^aกรุงเทพฯ :^bมูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม, ^c2561.
300   ^a47 หน้า :^bภาพประกอบ ^c18 ซม.
505 0 ^aองค์ประกอบของการชุมนุมสาธารณะ --^tการชุมนุนหรือกิจกรรมที่ไม่อยู่ในบังคับ พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะฯ --^tเงื่อนไขข้อจำกัดเรื่องสถานที่และลักษณะการชุมนุม --^tการแจ้งการชุมนุมสาธารณะ --^tขั้นตอนการปฏิบัติของตำรวจกรณีเห็นว่าการชุมนุมที่รับแจ้งขัดต่อเงื่อนไขเรื่องสถานที่และลักษณะการชุมนุม --^tหน้าที่ของเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะผู้จัดการชุมนุม และผู้ชุมนุม --^tขั้นตอนการดำเนินการของเจ้าหน้าที่ตำรวจเพื่อให้เลิกการชุมนุมสาธารณะที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย --^tกรณีตัวอย่างการใช้สิทธิทางศาลเพื่อคุ้มครองเสรีภาพการชุมนุม --^tอุปสรรคการใช้เสรีภาพการชุมนุมของประชาชน.
520   ^aเสรีภาพการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ (Freedom of Peaceful Assembly) เป็นเสรีภาพที่ได้ รับการรับรองและคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ​และกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICCPR) และถือเป็นเรื่องปกติในสังคมประชาธิปไตยที่ประชาชนจะออกมารวมตัวกันเพื่อส่งเสียงเรียกร้องให้รัฐบาลหน่วงานที่มีอำนาจหน้าที่ได้รับรู้และตอบสนองต่อปัญหาความเดือดร้อน เพื่อแสดงออกและรณรงค์ต่อสาธารณะในจุดยืนความคิดเห็นเรื่องหนึ่งเรื่องใด เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง แต่การรวมตัวกันเพื่อใช้เสรีภาพการชุมนุม ในปัจจุบันมีเงื่อนไขขั้นตอนและกฎเกณฑ์ท่ีเคร่งครัด เพิ่มมากข้ึนนับตั้งแต่มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.2558 ประชาชนที่ต้องการใช้เสรีภาพการชุมนุมท้ังผู้จัดและผู้เข้าร่วมชุมนุมจึงควร ได้ศึกษาทำความเข้าใจทั้งข้อกฎหมายและแนวทางปฏิบัติเพื่อให้การชุมนุมสาธารณะสามารถดำเนินไปได้โดยไม่มีอุปสรรคและเพื่อปกป้องรักษาสิทธิเสรีภาพของตนเองไม่ให้ถูกละเมิดจากการตีความบังคับใช้กฎหมายที่ไม่ถูกต้องของเจ้าหน้าที่รัฐ คู่มือฉบับนี้ จัดทำโดยความร่วมมือระหว่าง สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน และไอลอว์.^b
536   ^aอภินันทนาการจากนางสาวเกศริน เตียวสกุล
650  4^aเสรีภาพ  
650  4^aสิทธิของพลเมือง  
650  4^aเสรีภาพในการสมาคม^vคู่มือ
653  4^aเสรีภาพในการชุมนุม  
653   4^aการชุมนุมสาธารณะ   
653   ^aNew Arrivals 09-2020
710 1 ^aศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน
710 1 ^aสมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน
710 1 ^aโครงการอินเตอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน
856 40^zเอกสารฉบับเต็ม^uhttps://ilaw.or.th/sites/default/files/-Final-forWebsite.pdf
856 40^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T11133.pdf
917   ^aGift :^c100 
955   ^a1 เล่ม
999   ^aIntern
เลื่อนขึ้นด้านบน