บริการท้องถิ่นเพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีสำหรับผู้สูงอายุ

ประเภท เลขเรียก สถานที่ สถานะ

HV1484.T5 ศ293 2560 c.1

มุมหนังสือทั่วไป บนชั้น ขอยืม

HV1484.T5 ศ293 2560 c.2

มุมหนังสือทั่วไป บนชั้น ขอยืม
ISBN
9789744499776 (pbk.)
เลขเรียก
HV1484.T5 ศ293 2560
ผู้แต่ง
ชื่อเรื่อง
บริการท้องถิ่นเพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีสำหรับผู้สูงอายุ / ศศิพัฒน์ ยอดเพชร
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยพระปกเกล้า, 2560.
รูปเล่ม
154 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซม.
ชื่อชุด
หมายเหตุสารบัญ
สังคมสูงอายุ
--ท้องถิ่นกับการจัดบริการและสวัสดิการผู้สูงอายุ
--แนวคิดและรูปแบบบริการผู้สูงอายุในชุมชน.
บทคัดย่อ
“สังคมผู้สูงอายุ” หรือ “สังคมสูงวัย” (Ageing Society) เป็นคำที่ใช้เรียกแทนกันได้ แต่มีความหมายแตกต่างกันเล็กน้อย การเข้าสู่สังคมสูงอายุเป็นสถานการณ์ใหม่ที่เกิดขึ้นในหลายประเทศ ซึ่งประเทศที่เป็นสังคมสูงอายุแล้ว เช่น ญี่ปุ่น ประเทศทางตะวันตก ได้มีการเตรียมเข้าสู่สังคมสูงอายุมาหลายปีแล้ว นักวิชาการระบุว่า ประเทศต่างๆ เหล่านั้นมีการวางแผนเตรียมการทั้งด้านนโยบาย ด้านแผนงาน และบริการต่างๆ เพื่อเข้าสู่สังคมสูงอายุเป็นเวลากว่า 100 ปีแล้ว โดยเตรียมการและปฏิบัติมาเป็นระยะๆ เพื่อให้สามารถเข้าสู่สังคมสูงอายุได้อย่างเป็นขั้นตอนและเกิดปัญหาน้อย สำหรับประเทศไทยเริ่มมีการเตรียมการก่อนเข้าสู่สังคมสูงอายุในปี 2548 เพียง 20 ปี เท่านั้น ซึ่งนับว่าเป็นระยะเวลาสั้นมาก ดังนั้นจึงเป็นสภาวการณ์ที่ต้องให้ความสนใจเป็นพิเศษและเร่งด่วน.
หมายเหตุแหล่งที่มา
อภินันทนาการจากสถาบันพระปกเกล้า
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
คำศัพท์
ผู้แต่งนิติบุคคล
สารบัญ
LEADER : 00000nab 2200000uu 4500
008   181106s2560||||th a 000 0 tha d
020   ^a9789744499776 (pbk.)
050  4^aHV1484.T5^bศ293 2560
100 0 ^aศศิพัฒน์ ยอดเพชร
245 10^aบริการท้องถิ่นเพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีสำหรับผู้สูงอายุ /^cศศิพัฒน์ ยอดเพชร
260   ^aกรุงเทพฯ :^bสถาบันวิจัยพระปกเกล้า, ^c2560.
300   ^a154 หน้า :^bภาพประกอบ ^c21 ซม.
490 0 ^aเอกสารวิชาการ ^vลำดับที่ 113
505 0 ^aสังคมสูงอายุ --^tท้องถิ่นกับการจัดบริการและสวัสดิการผู้สูงอายุ --^tแนวคิดและรูปแบบบริการผู้สูงอายุในชุมชน.
520   ^a“สังคมผู้สูงอายุ” หรือ “สังคมสูงวัย” (Ageing Society) เป็นคำที่ใช้เรียกแทนกันได้ แต่มีความหมายแตกต่างกันเล็กน้อย การเข้าสู่สังคมสูงอายุเป็นสถานการณ์ใหม่ที่เกิดขึ้นในหลายประเทศ ซึ่งประเทศที่เป็นสังคมสูงอายุแล้ว เช่น ญี่ปุ่น ประเทศทางตะวันตก ได้มีการเตรียมเข้าสู่สังคมสูงอายุมาหลายปีแล้ว นักวิชาการระบุว่า ประเทศต่างๆ เหล่านั้นมีการวางแผนเตรียมการทั้งด้านนโยบาย ด้านแผนงาน และบริการต่างๆ เพื่อเข้าสู่สังคมสูงอายุเป็นเวลากว่า 100 ปีแล้ว โดยเตรียมการและปฏิบัติมาเป็นระยะๆ เพื่อให้สามารถเข้าสู่สังคมสูงอายุได้อย่างเป็นขั้นตอนและเกิดปัญหาน้อย สำหรับประเทศไทยเริ่มมีการเตรียมการก่อนเข้าสู่สังคมสูงอายุในปี 2548 เพียง 20 ปี เท่านั้น ซึ่งนับว่าเป็นระยะเวลาสั้นมาก ดังนั้นจึงเป็นสภาวการณ์ที่ต้องให้ความสนใจเป็นพิเศษและเร่งด่วน.
536   ^aอภินันทนาการจากสถาบันพระปกเกล้า
650  4^aผู้สูงอายุ^xการสงเคราะห์  
650  4^aผู้สูงอายุ  
650  4^aผู้สูงอายุ^xนโยบายของรัฐ
653   ^aNew Arrivals 12-2018
710 2 ^aสถาบันพระปกเกล้า
856 40^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T10146.pdf
917   ^aKPI :^c105, Gift :^c105
955   ^a2 เล่ม
999   ^asaithip
เลื่อนขึ้นด้านบน