อัตลักษณ์และวิถีทางเพศในประเทศไทย

ประเภท เลขเรียก สถานที่ สถานะ

HQ75.6.T5 บ672 2557

มุมหนังสือทั่วไป บนชั้น ขอยืม
ISBN
9789228292558 (pbk.)
เลขเรียก
HQ75.6.T5 บ672 2557
ผู้แต่ง
ชื่อเรื่อง
อัตลักษณ์และวิถีทางเพศในประเทศไทย/ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ ประจำประเทศไทย กัมพูชา และ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ; โครงการส่งเสริมสิทธิความหลากหลายและความเท่าเทียมในโลกของการทำงาน (PRIDE).
ชื่อเรื่องที่แตกต่าง
Gender identity and sexual orientation in Thailand
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : องค์การแรงงานระหว่างประเทศ, 2557.
รูปเล่ม
xxvii, 156 หน้า : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
หมายเหตุสารบัญ
บทที่ 1: หลักการ แนวคิด และคำศัพท์
--หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
--การใช้หลักสิทธิมนุษยชนในประเด็นวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ
--คำศัพท์เกี่ยวกับวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศที่หลากหลาย
--บทที่ 2: กฎหมายปริทัศน์
--ความเสมอภาคทางเพศและการคุ้มครองสิทธิของ LGBT ในกฎหมายไทย
--บทบัญญัติทางกฎหมายที่เลือกปฏิบัติ
--ช่องว่างในการคุ้มครองทางกฎหมาย
--พัฒนาการทางกฎหมายและนโยบายเพื่อส่งเสริมความเสมอภาคทางเพศ
--บทที่ 3: ระเบียบวิธีวิจัย
--บทที่ 4: ผลการวิจัย
--ภาพลักษณ์กับความเป็นจริง: สังคมไทยยังไม่ยอมรับ LGBT อย่างแท้จริง
--โอกาสและการปฏิบัติต่อ LGBT ในโลกแห่งการทำงาน
--การคุกคามและความรุนแรงทางเพศต่อ LGBT
--การจ้างงานและการคุ้มครองทางสังคมสำหรับลูกจ้าง LGBT
--เอชไอวีและเอดส์
--ความตระหนักรู้เกี่ยวกับสิทธิความหลากหลายทางเพศและการเจรจาทางสังคม
--บทที่ 5: บทสรุปและข้อเสนอแนะ.
บทคัดย่อ
การเลือกปฏิบัติด้วยเหตุวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ เป็นประเด็นที่ได้รับการยอมรับในกฎหมายระดับสากล และพัฒนาการด้านสิทธิในหลายปีที่ผ่านมาก็ได้ทำให้เกิดความสนใจมากยิ่งขึ้นทั่วโลกต่อการเลือกปฏิบัติต่อบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ได้แก่ หญิงรักหญิง ชายรักชาย คนรักสองเพศและคนข้ามเพศ (lesbian, gay, bisexual, transgender หรือเรียกย่อๆ ว่า LGBT) บางประเทศมีบทบัญญัติทางกฎหมายที่ห้ามมิให้เลือกปฏิบัติต่อ LGBT แล้ว แต่ประเทศส่วนใหญ่ยังไม่มีบทบัญญัติดังกล่าว ลูกจ้างที่มีความหลากหลายทางเพศ ต้องเผชิญกับการเลือกปฏิบัติหลากหลายรูปแบบในตลาดแรงงานตลอดวงจร ของการทำงาน รัฐบาลในหลายประเทศและสหพันธ์แรงงานสากล เริ่มตระหนักและกังวลเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิ ของ LGBT มากขึ้น แต่อย่างไรก็ดี หลายประเทศก็ยังคงขาดข้อมูลเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติต่อลูกจ้าง LGBT.
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
คำศัพท์
คำศัพท์
ผู้แต่งร่วม
ผู้แต่งนิติบุคคล
ผู้แต่งนิติบุคคล
เชื่อมโยง
สารบัญ
LEADER : 00000nab 2200000uu 4500
008   151118s2557||||th 000 0 tha d
020   ^a9789228292558 (pbk.)
050 00^aHQ75.6.T5^bบ672 2557
100 0 ^aบุษกร สุริยสาร
245 00^aอัตลักษณ์และวิถีทางเพศในประเทศไทย/^cองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ประจำประเทศไทย กัมพูชา และ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว  โครงการส่งเสริมสิทธิความหลากหลายและความเท่าเทียมในโลกของการทำงาน (PRIDE).
246 31^aGender identity and sexual orientation in Thailand
260   ^aกรุงเทพฯ :^bองค์การแรงงานระหว่างประเทศ,^c2557.
300   ^axxvii, 156 หน้า :^bภาพประกอบ ^c30 ซม.
505 0 ^aบทที่ 1: หลักการ แนวคิด และคำศัพท์ --^tหลักการและแนวคิดเกี่ยวกับความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ --^tการใช้หลักสิทธิมนุษยชนในประเด็นวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ --^tคำศัพท์เกี่ยวกับวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศที่หลากหลาย --^tบทที่ 2: กฎหมายปริทัศน์ --^tความเสมอภาคทางเพศและการคุ้มครองสิทธิของ LGBT ในกฎหมายไทย --^tบทบัญญัติทางกฎหมายที่เลือกปฏิบัติ --^tช่องว่างในการคุ้มครองทางกฎหมาย --^tพัฒนาการทางกฎหมายและนโยบายเพื่อส่งเสริมความเสมอภาคทางเพศ --^tบทที่ 3: ระเบียบวิธีวิจัย --^tบทที่ 4: ผลการวิจัย --^tภาพลักษณ์กับความเป็นจริง: สังคมไทยยังไม่ยอมรับ LGBT อย่างแท้จริง --^tโอกาสและการปฏิบัติต่อ LGBT ในโลกแห่งการทำงาน --^tการคุกคามและความรุนแรงทางเพศต่อ LGBT --^tการจ้างงานและการคุ้มครองทางสังคมสำหรับลูกจ้าง LGBT --^tเอชไอวีและเอดส์ --^tความตระหนักรู้เกี่ยวกับสิทธิความหลากหลายทางเพศและการเจรจาทางสังคม --^tบทที่ 5: บทสรุปและข้อเสนอแนะ.
520   ^aการเลือกปฏิบัติด้วยเหตุวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ เป็นประเด็นที่ได้รับการยอมรับในกฎหมายระดับสากล และพัฒนาการด้านสิทธิในหลายปีที่ผ่านมาก็ได้ทำให้เกิดความสนใจมากยิ่งขึ้นทั่วโลกต่อการเลือกปฏิบัติต่อบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ได้แก่ หญิงรักหญิง ชายรักชาย คนรักสองเพศและคนข้ามเพศ (lesbian, gay, bisexual, transgender หรือเรียกย่อๆ ว่า LGBT) บางประเทศมีบทบัญญัติทางกฎหมายที่ห้ามมิให้เลือกปฏิบัติต่อ LGBT แล้ว แต่ประเทศส่วนใหญ่ยังไม่มีบทบัญญัติดังกล่าว ลูกจ้างที่มีความหลากหลายทางเพศ ต้องเผชิญกับการเลือกปฏิบัติหลากหลายรูปแบบในตลาดแรงงานตลอดวงจร ของการทำงาน รัฐบาลในหลายประเทศและสหพันธ์แรงงานสากล เริ่มตระหนักและกังวลเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิ ของ LGBT มากขึ้น แต่อย่างไรก็ดี หลายประเทศก็ยังคงขาดข้อมูลเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติต่อลูกจ้าง LGBT.
650  4^aความหลากหลายทางเพศ  
650  4^aสิทธิมนุษยชน  
650  4^aเอกลักษณ์ทางเพศ
653  4^aสิทธิความหลากหลายทางเพศ  
653  4^aสิทธิทางเพศ
700 0 ^aBusakorn Suriyasarn
710 1 ^aองค์การแรงงานระหว่างประเทศ
710 1 ^aInternational Labour Organization
856 40^zElectronic resource^uhttp://www.ilo.org/wcmsp5/groups/public/---asia/---ro-bangkok/---sro-bangkok/documents/publication/wcms_356948.pdf
856 40^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T08768.pdf
917   ^aGift :^c200
955   ^a1 เล่ม
999   ^anopparat
เลื่อนขึ้นด้านบน