กฎหมายเกี่ยวกับการใช้กำลังควบคุมการชุมนุมสาธารณะ : ศึกษาร่างพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. ...

ประเภท เลขเรียก สถานที่ สถานะ

KPT2483.A9 ป472 2554

มุมวิทยานิพนธ์ & วิจัย บนชั้น ขอยืม
เลขเรียก
KPT2483.A9 ป472 2554
ผู้แต่ง
ชื่อเรื่อง
กฎหมายเกี่ยวกับการใช้กำลังควบคุมการชุมนุมสาธารณะ : ศึกษาร่างพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. ... / ปรีดิ์มนัส มุสิกะนุเคราะห์
ชื่อเรื่องที่แตกต่าง
Law concerning the control and enforcement of public assembly : study on the draft assembly act B.E.
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554.
รูปเล่ม
ก-ฌ, 203 แผ่น ; 30 ซม.
หมายเหตุวิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์ (น.ม. นิติศาสตร์) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554
บทคัดย่อ
เสรีภาพในการชุมนุมถือเป็นเป็นเสรีภาพพื้นฐานอย่างหนึ่งที่สำคัญอย่างยิ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตย รัฐหลายรัฐจึงบัญญัติรับรองเสรีภาพประเภทนี้ไว้ในรัฐธรรมนูญเพื่อเป็นหลักประกันการใช้เสรีภาพนี้ของประชาชน อย่างไรก็ตามเสรีภาพการชุมนุมนั้น ก็ไม่ใช้เสรีภาพประเภทเสรีภาพแบบเด็ดขาดที่จะจำกัดสิทธิมิได้ ดังนั้นการจำกัดเสรีภาพประเภทนี้ย่อมทำได้หากว่าเพื่อความสงบเรียบร้อยของสังคมหรือบ้านเมือง เพื่อความปลอดภัยของสาธารณชน เป็นต้น จากการศึกษาพบว่าในปัจจุบันประเทศไทยได้มีการบัญญัติรับรองสิทธิและเสรีภาพการชุมนุมไว้ในรัฐธรรมนูญ มาตรา 63 ซึ่งวางหลักไว้ว่า บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการชุมนุมแต่ต้องกระทำโดยสงบโดยสงบและปราศจากอาวุธ อย่างไรก็ตามเนื่องจากในปัจจุบันประเทศไทยยังไม่ได้มีกฎหมายเกี่ยวกับการชุมนุมโดยตรง โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับการกำหนดความผิดเกี่ยวกับการชุมนุมที่มิชอบด้วยกฎหมาย ตลอดจนการควบคุมการชุมนุมที่มิชอบด้วยกฎหมายนั้น ดังนั้นในปัจจุบันการปรับฐานความผิดตลอดจนการควบคุมการชุมนุมจึงมักอาศัยกฎหมายฉบับอื่นมาปรับ เช่น ประมวลกฎหมายอาญา,พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 , พระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ.2535 เป็นต้น แต่เนื่องจากกฎหมายเหล่านี้ไม่ได้ถูกออกแบบมาเพื่อความผิดเกี่ยวกับการชุมนุมโดยตรง ดังนั้นจึงย่อมทำให้การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่เป็นไปด้วยความลำบาก และแม้ในปัจจุบันจะได้มีการยกร่างพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. .... โดยสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ตลอดจนผ่านความเห็นชอบจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแล้ว แต่ปรากฎว่าร่างกฎหมายดังกล่าวยังมีปัญหาการบังคับใช้อยู่มาก เช่น การบัญญัติความผิดยังไม่ครอบคลุมความผิดทั้งหมดเพียงพอ ดังนั้นจึงสมควรที่จะมีการพิจารณาร่างกฎหมายฉบับดังกล่าวอีกครั้งหนึ่งเพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายในภายหน้าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
คำศัพท์เนื้อหา
ผู้แต่งร่วม
ผู้แต่งนิติบุคคล
สารบัญ
LEADER : 00000nab 2200000uu 4500
008   131212s2554||||th m 000 0 tha d
050  4^aKPT2483.A9^bป472 2554
100 0 ^aปรีดิ์มนัส มุสิกะนุเคราะห์, ^d2528-
245 10^aกฎหมายเกี่ยวกับการใช้กำลังควบคุมการชุมนุมสาธารณะ :^bศึกษาร่างพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. ... /^cปรีดิ์มนัส มุสิกะนุเคราะห์
246 31^aLaw concerning the control and enforcement of public assembly : study on the draft assembly act B.E.
260   ^aกรุงเทพฯ :^bคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ^c2554.
300   ^aก-ฌ, 203 แผ่น ^c30 ซม.
502   ^aวิทยานิพนธ์ (น.ม. นิติศาสตร์) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554
520   ^aเสรีภาพในการชุมนุมถือเป็นเป็นเสรีภาพพื้นฐานอย่างหนึ่งที่สำคัญอย่างยิ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตย รัฐหลายรัฐจึงบัญญัติรับรองเสรีภาพประเภทนี้ไว้ในรัฐธรรมนูญเพื่อเป็นหลักประกันการใช้เสรีภาพนี้ของประชาชน อย่างไรก็ตามเสรีภาพการชุมนุมนั้น ก็ไม่ใช้เสรีภาพประเภทเสรีภาพแบบเด็ดขาดที่จะจำกัดสิทธิมิได้ ดังนั้นการจำกัดเสรีภาพประเภทนี้ย่อมทำได้หากว่าเพื่อความสงบเรียบร้อยของสังคมหรือบ้านเมือง เพื่อความปลอดภัยของสาธารณชน เป็นต้น จากการศึกษาพบว่าในปัจจุบันประเทศไทยได้มีการบัญญัติรับรองสิทธิและเสรีภาพการชุมนุมไว้ในรัฐธรรมนูญ มาตรา 63 ซึ่งวางหลักไว้ว่า บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการชุมนุมแต่ต้องกระทำโดยสงบโดยสงบและปราศจากอาวุธ อย่างไรก็ตามเนื่องจากในปัจจุบันประเทศไทยยังไม่ได้มีกฎหมายเกี่ยวกับการชุมนุมโดยตรง โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับการกำหนดความผิดเกี่ยวกับการชุมนุมที่มิชอบด้วยกฎหมาย ตลอดจนการควบคุมการชุมนุมที่มิชอบด้วยกฎหมายนั้น ดังนั้นในปัจจุบันการปรับฐานความผิดตลอดจนการควบคุมการชุมนุมจึงมักอาศัยกฎหมายฉบับอื่นมาปรับ เช่น ประมวลกฎหมายอาญา,พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 , พระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ.2535 เป็นต้น แต่เนื่องจากกฎหมายเหล่านี้ไม่ได้ถูกออกแบบมาเพื่อความผิดเกี่ยวกับการชุมนุมโดยตรง ดังนั้นจึงย่อมทำให้การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่เป็นไปด้วยความลำบาก และแม้ในปัจจุบันจะได้มีการยกร่างพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. .... โดยสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ตลอดจนผ่านความเห็นชอบจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแล้ว แต่ปรากฎว่าร่างกฎหมายดังกล่าวยังมีปัญหาการบังคับใช้อยู่มาก เช่น การบัญญัติความผิดยังไม่ครอบคลุมความผิดทั้งหมดเพียงพอ ดังนั้นจึงสมควรที่จะมีการพิจารณาร่างกฎหมายฉบับดังกล่าวอีกครั้งหนึ่งเพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายในภายหน้าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
650  4^aความรุนแรงทางการเมือง^zไทย  
650  4^aการบังคับใช้กฎหมาย^zไทย  
650  4^aสิทธิการชุมนุม^zไทย  
650  4^aเสรีภาพในการแสดงออก^xกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ^zไทย  
650  4^aเสรีภาพในการพูด^xกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ^zไทย  
650  4^aการเดินขบวน^xกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ^zไทย  
650  4^aการชุมนุมสาธารณะ^xกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ^zไทย
655  4^aวิทยานิพนธ์
700 0 ^aPreemanat Musikanukhroa
710 2 ^aจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ^bคณะนิติศาสตร์
856 40^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T07900.pdf
917   ^aCU :^c500
955   ^a1 เล่ม
999   ^acat1
เลื่อนขึ้นด้านบน