กฎหมายป้องกันการกระทำผิดซ้ำ

ประเภท เลขเรียก สถานที่ สถานะ

KPT4024.A9 ส832 2566

มุมหนังสือทั่วไป บนชั้น ขอยืม
ISBN
9789742039264 (pbk.)
เลขเรียก
KPT4024.A9 ส832 2566
ผู้แต่ง
ชื่อเรื่อง
กฎหมายป้องกันการกระทำผิดซ้ำ/ สุพิศ ปราณีตพลกรัง
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : นิติธรรม, 2566.
รูปเล่ม
108 หน้า ; 26 ซม.
หมายเหตุสารบัญ
บทที่ 1 บททั่วไป
--บทที่ 2 คณะกรรมการ
--บทที่ 3 มาตรการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิด
--บทที่ 4 มาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ
--บทที่ 5 มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษ
--บทที่ 6 การคุมขังฉุกเฉิน
--บทที่ 7 การอุทธรณ์และบทเฉพาะกาล.
บทคัดย่อ
อาชญากรรมหรือการกระทำผิดนั้น ส่งผลกระทบต่อความสงบเรียบร้อยต่อสังคมส่วนรวมเป็นภัยต่อสุจริตชน ทำให้รัฐต้องสูญเสียงบประมาณในการแก้ไข แม้จะมีการจัดการได้ในระดับหนึ่ง คือ การนำผู้กระทำผิดเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม มีการลงโทษ แต่ปัญหาหนึ่งที่เกิดติดตามมา ก็คือ การกระทำผิดซ้ำหลังการพันโทษ ทำให้ปัญหามีสภาพของการวนเวียนไม่จบสิ้น สาเหตุของการกระทำผิดซ้ำนั้นอาจจะมีที่มาจากหลายเงื่อนไข ปัจจัย ซึ่งในด้านของตัวผู้กระทำผิดก็อาจถือได้ว่าเป็นปัจจัยหลัก การที่จะแก้ไขปัญหา หรือป้องกันปัญหาการกระทำผิดซ้ำได้ทางหนึ่งก็คือการมีกฎหมายเพื่อให้สามารถดำเนินการต่าง ๆ ได้เท่าทันกับปัญหา จึงมีการออกกฎหมายกำหนดมาตรการป้องกันการกระทำผิดซ้ำ โดยเน้นหนักที่การกระทำความผิดซ้ำในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง กฎหมายดังกล่าวเกี่ยวข้องกับหลายภาคส่วน ทั้งหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องและผลกระทบต่อสิทธิเสรีภาพของตัวผู้กระทำผิดที่พันโทษแล้ว เรื่องดังกล่าวเป็นเรื่องที่น่าสนใจ ผู้เขียนได้เรียบเรียงขึ้นเพื่อผู้เกี่ยวข้องได้ศึกษาทำความเข้าใจ.
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
คำศัพท์
สารบัญ
LEADER : 00000nab 2200000uu 4500
008   240815s2566||||th a 000 0 tha d
020   ^a9789742039264 (pbk.)
050  4^aKPT4024.A9^bส832 2566
100 0 ^aสุพิศ ปราณีตพลกรัง
245 00^aกฎหมายป้องกันการกระทำผิดซ้ำ/^cสุพิศ ปราณีตพลกรัง
260   ^aกรุงเทพฯ :^bนิติธรรม,^c2566.
300   ^a108 หน้า ^c26 ซม.
505 0 ^aบทที่ 1 บททั่วไป -- ^tบทที่ 2 คณะกรรมการ -- ^tบทที่ 3 มาตรการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิด -- ^tบทที่ 4 มาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ -- ^tบทที่ 5 มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษ -- ^tบทที่ 6 การคุมขังฉุกเฉิน -- ^tบทที่ 7 การอุทธรณ์และบทเฉพาะกาล.
520 3 ^aอาชญากรรมหรือการกระทำผิดนั้น ส่งผลกระทบต่อความสงบเรียบร้อยต่อสังคมส่วนรวมเป็นภัยต่อสุจริตชน ทำให้รัฐต้องสูญเสียงบประมาณในการแก้ไข แม้จะมีการจัดการได้ในระดับหนึ่ง คือ การนำผู้กระทำผิดเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม มีการลงโทษ แต่ปัญหาหนึ่งที่เกิดติดตามมา ก็คือ การกระทำผิดซ้ำหลังการพันโทษ ทำให้ปัญหามีสภาพของการวนเวียนไม่จบสิ้น สาเหตุของการกระทำผิดซ้ำนั้นอาจจะมีที่มาจากหลายเงื่อนไข ปัจจัย ซึ่งในด้านของตัวผู้กระทำผิดก็อาจถือได้ว่าเป็นปัจจัยหลัก การที่จะแก้ไขปัญหา หรือป้องกันปัญหาการกระทำผิดซ้ำได้ทางหนึ่งก็คือการมีกฎหมายเพื่อให้สามารถดำเนินการต่าง ๆ ได้เท่าทันกับปัญหา จึงมีการออกกฎหมายกำหนดมาตรการป้องกันการกระทำผิดซ้ำ โดยเน้นหนักที่การกระทำความผิดซ้ำในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง กฎหมายดังกล่าวเกี่ยวข้องกับหลายภาคส่วน ทั้งหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องและผลกระทบต่อสิทธิเสรีภาพของตัวผู้กระทำผิดที่พันโทษแล้ว เรื่องดังกล่าวเป็นเรื่องที่น่าสนใจ ผู้เขียนได้เรียบเรียงขึ้นเพื่อผู้เกี่ยวข้องได้ศึกษาทำความเข้าใจ.
650  4^aการกระทำผิดซ้ำ^zไทย  
650  4^aการคุมประพฤติ^zไทย
653   ^aNew Arrivals 10-2024
856 40^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T06980.pdf
917   ^aWY :^c100
955   ^a1 เล่ม
999   ^anopparat
เลื่อนขึ้นด้านบน