LEADER : 00000nab 2200000uu 4500 |
008   151009s2558||||th 000 0 tha d
|
020 ^a9786167213347 (pbk.)
|
050 4^aHN700.592^bส723 2558
|
100 0 ^aอาภา หวังเกียรติ
|
245 00^aรายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง สิทธิชุมชนและผลกระทบโครงการพัฒนาภาคใต้ /^cอาภา หวังเกียรติ, หัวหน้าโครงการวิจัย
|
246 30^aโครงการศึกษาวิจัย เรื่อง สิทธิชุมชนและผลกระทบโครงการพัฒนาภาคใต้
30^aสิทธิชุมชนและผลกระทบโครงการพัฒนาภาคใต้
|
260 ^aกรุงเทพฯ :^bสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, ^c2558.
|
300 ^axiv, 135 หน้า :^bภาพประกอบ ;^c30 ซม. +^e1 ซีดี-รอม.
|
500 ^aจัดทำโดย มหาวิทยาลัยรังสิต ; ดร.อาภา หวังเกียรติ, หัวหน้าโครงการวิจัย
|
505 0 ^aบทนำ --^tวิธีการศึกษาและขั้นตอนการดำเนินงาน --^tสิทธิชุมชน และสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวข้องกับผลกระทบจากโครงการพัฒนาภาคใต้ --^tสิทธิมนุษยชนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ที่เกี่ยวข้องกับผลกระทบจากโครงการพัฒนาภาคใต้ --^tแผนพัฒนาภาคใต้ นโยบายที่เกี่ยวข้อง สถานการณ์ และกรณีร้องเรียน --^tผลการศึกษา กรณีศึกษาสิทธิชุมชนกับผลกระทบโครงการพัฒนาภาคใต้ --^tกรณีศึกษาจากกรณีร้องเรียนจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ --^tกรณีศึกษาจากกรณีร้องเรียนจังหวัดนครศรีธรรมราช --^tกรณีศึกษาจากกรณีร้องเรียนจังหวัดสงขลา --^tกรณีศึกษาจากกรณีร้องเรียนจังหวัดสตูล --^tข้อเสนอต่อนโนบายการพัฒนาภาคใต้ --^tบทสรุป.
|
520 ^aแนวนโยบายและการบริหารแผนพัฒนาในระดับประเทศส่วนใหญ่ถูกกำหนดจากหน่วยงานของรัฐและเอกชนในส่วนกลาง นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2525 รัฐไดกำหนดให้มีการพัฒนาอุตสาหกรรมปิโตรเคมีลงสูพื้นที่ภาคใต้ ภายใต้โครงการแผนพัฒนาชายฝั่งทะเลภาคใต้ โครงการดังกล่าวก่อให้เกิดการคุกคามต่อสิทธิชุมชนอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะพื้นที่เป้าหมายของการพัฒนา ไดแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ นครศรีธรรมราช สงขลา และสตูล จึงมีการศึกษาวิจัยผลกระทบต่อสิทธิชุมชนที่เกิดขึ้น รวมทั้งจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อการบริหารจัดการโครงการพัฒนาภาคใต้เพื่อให้เกิดการคุ้มครองสิทธิชุมชนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 โดยใช้กลุ่มเป้าหมายในการศึกษาวิจัยจากกรณีการร้องเรียนของชาวบ้านที่ไดรับผลกระทบจากแผนพัฒนาภาคใต้ในพื้นที่ 4 จังหวัด ต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ โดยวิธีการผสมผสานระเบียบวิธีวิจัย ทั้งวิธีการศึกษาจากเอกสาร และวิธีการเชิงคุณภาพ ทั้งนี้ ไดมีการจัดการสนทนากลุ่ม และจัดเวทีประชุมเชิงปฏิบัติการของผู้ร้องเรียนในแต่ละจังหวัด ผลการศึกษาพบว่ามีการละเมิดและละเลยความสำคัญของสิทธิของชุมชนในด้านต่างๆ ทั้งสิทธิในการกำหนดอนาคตและเจตจำนงของตนเองและสิทธิในการพัฒนา ซึ่งแผนพัฒนาภาคใต้ถูกกำหนดขึ้นจากรัฐส่วนกลางโดยที่ไมมีประชาชนชุมชนท้องถิ่นที่ไดรับผลกระทบโดยตรงเข้าไปมีส่วนร่วมในการกำหนดและจัดทำส่งผลให้ชะตากรรมและชีวิตของท้องถิ่นถูกกำหนดมาจากองค์กรภายนอก ทั้งจากต่างประเทศและในประเทศ.
|
536 ^aจัดจ้างโดยวิธีตกลงราคา ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ; จำนวนเงินตามสัญญาจ้าง 1,262,000 บาท ; ระยะเวลาดำเนินงาน 360 วัน
|
610 20^aคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
20^aสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ^xวิจัย
20^aสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ^xรายงานการวิจัย
|
650 4^aสิทธิมนุษยชน^zไทย^xการละเมิด
4^aสิทธิชุมชน
4^aสิทธิการมีส่วนร่วมของประชาชน
4^aการพัฒนาประเทศ^xผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
4^aการพัฒนาชนบท^zไทย (ภาคใต้)
4^aการพัฒนาชุมชน^zไทย (ภาคใต้)
|
653 ^aสิทธิชุมชน (Community rights)
^aโครงการพัฒนาภาคใต้
|
655 ^aรายงานการวิจัย
|
710 2 ^aสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. ^bสำนักวิจัยและวิชาการ
2 ^aมหาวิทยาลัยรังสิต
|
856 40^zE-book^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/ebook/E08750/ebook.html
856 40^zเอกสารฉบับเต็ม^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Fulltext/F08750.pdf
856 40^zบทสรุปผู้บริหาร^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Summary/S08750.pdf
856 40^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T08750.pdf
|
917   ^aNHRC :^c200
|
955   ^a5 เล่ม, 2 CD-Rom
|
999   ^anopparat
|
before adding tags or comments.