รายงานวิจัยการสร้างความปรองดองแห่งชาติ

Category Call number Location Status

HM1126 ก523 2556

Thesis & Research Zone On shelf Reserve
ISBN
9789744497017 (pbk.)
Call Number
HM1126 ก523 2556
Title
รายงานวิจัยการสร้างความปรองดองแห่งชาติ / วุฒิสาร ตันไชย...[และคนอื่น ๆ]
Imprint
กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2556.
Physical
ก-ฏ, 187, [262] หน้า : ภาพประกอบ ; 26 ซม.
General Note
เสนอต่อคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สภาผู้แทนราษฎร
Contents Note
โครงการวิจัยการสร้างความปรองดองแห่งชาติ
--แนวคิดทฤษฎีในกระบวนการสร้างความปรองดอง
--ประสบการณ์การสร้างความปรองดองในต่างประเทศ
--ประวัติศาสตร์ความขัดแย้งและการสร้างความปรองดองในบริบทไทย
--ความคิดเห็นเกี่ยวกับความขัดแย้งและการจัดการความขัดแย้ง
--บทสังเคราะห์เหตุแห่งความขัดแย้งทางการเมืองไทยและข้อเสนอกระบวนการสร้างความปรองดองในชาติ
Summary
การวิจัยนี้มุ่งตอบคำถามของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สภาผู้แทนราษฎรว่า “อะไรคือรากเหง้าของความขัดแย้งทางการเมืองที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และมีปัจจัยหรือกระบวนการใดที่ทำให้คนในสังคมสามารถกลับมาอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ?” โดย (1) การทบทวนแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขความขัดแย้ง กระบวนการสร้างความปรองดอง และความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน ร่วมกับการศึกษากฎหมาย รูปแบบ และกลไกที่เกี่ยวข้องซึ่งเคยมีการนำไปใช้ในการแก้ไขความขัดแย้งและสร้างความปรองดองทั้งในประเทศไทยและในต่างประเทศ (2) การสรุปบทเรียนจากเวทีประชาเสวนาหาทางออกซึ่งสถาบันพระปกเกล้าได้ดำเนินการในทุกภูมิภาคทั่วประเทศโดยให้ประชาชนหลายภาคส่วนร่วมกันเสวนาหาทางออกของประเทศไทยร่วมกันในช่วงเดือนธันวาคม 2553 – มิถุนายน 2554 (3) การศึกษาประสบการณ์การแก้ไขความขัดแย้งและการสร้างความปรองดองในต่างประเทศ ซึ่งคัดเลือกมา 10 กรณีศึกษาจากหลากหลายทวีปในบริบทที่แตกต่างกัน ได้แก่ เกาหลีใต้ โคลอมเบีย ชิลี โบลิเวีย โมร็อกโก เยอรมนี รวันดา สหราชอาณาจักร (กรณีไอร์แลนด์เหนือ) อินโดนีเซีย (กรณีอาเจะห์) และแอฟริกาใต้ (4) การประมวลวิเคราะห์ข้อมูลปรากฏการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองในสังคมไทยตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบประชาธิปไตยจนถึงปัจจุบัน และ (5) การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เกี่ยวข้อง จำนวน ๔๗ คน ซึ่งประกอบด้วยนักการเมืองอาวุโส ผู้มีบทบาทสำคัญในเหตุการณ์ความขัดแย้ง ผู้มีบทบาทเกี่ยวข้องกับกระบวนการสร้างความปรองดอง และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ โดยใช้คำถามปลายเปิดสำหรับการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-structured Interview) 2 ครั้ง โดยมีระยะเวลาในการศึกษาวิจัยทั้งสิ้น 120 วัน ผลการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนที่หนึ่งคือ รากเหง้าของความขัดแย้งทางการเมืองไทย และ ส่วนที่สองคือ ข้อเสนอกระบวนการสร้างความปรองดองในชาติ.
Subject
Subject
Subject
Subject
Subject
Subject
Coorperative Author
Corporate Author
Content
Content
Content
LEADER : 00000nab 2200000uu 4500
008   140430s2556||||th a 000 0 tha d
020 ^a9789744497017 (pbk.)
050 4 ^aHM1126^bก523 2556
245 10^aรายงานวิจัยการสร้างความปรองดองแห่งชาติ /^cวุฒิสาร ตันไชย...[และคนอื่น ๆ]
260 ^aกรุงเทพฯ :^bสถาบันพระปกเกล้า,^c2556.
300 ^aก-ฏ, 187, [262] หน้า :^bภาพประกอบ ;^c26 ซม.
500 ^aเสนอต่อคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สภาผู้แทนราษฎร
504   ^aบรรณานุกรม : หน้า 181-187
505 2 ^aโครงการวิจัยการสร้างความปรองดองแห่งชาติ --^tแนวคิดทฤษฎีในกระบวนการสร้างความปรองดอง --^tประสบการณ์การสร้างความปรองดองในต่างประเทศ --^tประวัติศาสตร์ความขัดแย้งและการสร้างความปรองดองในบริบทไทย --^tความคิดเห็นเกี่ยวกับความขัดแย้งและการจัดการความขัดแย้ง --^tบทสังเคราะห์เหตุแห่งความขัดแย้งทางการเมืองไทยและข้อเสนอกระบวนการสร้างความปรองดองในชาติ
520 ^aการวิจัยนี้มุ่งตอบคำถามของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สภาผู้แทนราษฎรว่า “อะไรคือรากเหง้าของความขัดแย้งทางการเมืองที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และมีปัจจัยหรือกระบวนการใดที่ทำให้คนในสังคมสามารถกลับมาอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ?” โดย (1) การทบทวนแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขความขัดแย้ง กระบวนการสร้างความปรองดอง และความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน ร่วมกับการศึกษากฎหมาย รูปแบบ และกลไกที่เกี่ยวข้องซึ่งเคยมีการนำไปใช้ในการแก้ไขความขัดแย้งและสร้างความปรองดองทั้งในประเทศไทยและในต่างประเทศ (2) การสรุปบทเรียนจากเวทีประชาเสวนาหาทางออกซึ่งสถาบันพระปกเกล้าได้ดำเนินการในทุกภูมิภาคทั่วประเทศโดยให้ประชาชนหลายภาคส่วนร่วมกันเสวนาหาทางออกของประเทศไทยร่วมกันในช่วงเดือนธันวาคม 2553 – มิถุนายน 2554 (3) การศึกษาประสบการณ์การแก้ไขความขัดแย้งและการสร้างความปรองดองในต่างประเทศ ซึ่งคัดเลือกมา 10 กรณีศึกษาจากหลากหลายทวีปในบริบทที่แตกต่างกัน ได้แก่ เกาหลีใต้ โคลอมเบีย ชิลี โบลิเวีย โมร็อกโก เยอรมนี รวันดา สหราชอาณาจักร (กรณีไอร์แลนด์เหนือ) อินโดนีเซีย (กรณีอาเจะห์) และแอฟริกาใต้ (4) การประมวลวิเคราะห์ข้อมูลปรากฏการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองในสังคมไทยตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบประชาธิปไตยจนถึงปัจจุบัน และ (5) การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เกี่ยวข้อง จำนวน ๔๗ คน ซึ่งประกอบด้วยนักการเมืองอาวุโส ผู้มีบทบาทสำคัญในเหตุการณ์ความขัดแย้ง ผู้มีบทบาทเกี่ยวข้องกับกระบวนการสร้างความปรองดอง และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ โดยใช้คำถามปลายเปิดสำหรับการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-structured Interview) 2 ครั้ง โดยมีระยะเวลาในการศึกษาวิจัยทั้งสิ้น 120 วัน ผลการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนที่หนึ่งคือ รากเหง้าของความขัดแย้งทางการเมืองไทย และ ส่วนที่สองคือ ข้อเสนอกระบวนการสร้างความปรองดองในชาติ.
650 4^aความยุติธรรม 4^aการไกล่เกลี่ย^zไทย 4^aการบริหารความขัดแย้ง^zไทย 4^aความขัดแย้งทางการเมือง 4^aความขัดแย้งทางสังคม^zไทย 4^aความยุติธรรมกับการเมือง^zไทย
700 0 ^aวุฒิสาร ตันไชย
710 2 ^aสถาบันพระปกเกล้า
856 40^zบทสรุปผู้บริหาร^uhttp://www.kpi.ac.th/wiki/index.php/รายงานวิจัย_การสร้างความปรองดองแห่งชาติ
856 40^zElectronic resource^uhttp://www.kpi.ac.th/kpith/index.php?option=com_content&task=view&id=1296&Itemid=9
856 40^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T08083.pdf
917   ^aGIFT :^c500
955   ^a1 เล่ม
999   ^aDahwan
Scroll to top