รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน

Category Call number Location Status

HF5429.6.T5 ผ191 2557 c.1

NHRC Collection On shelf Reserve

HF5429.6.T5 ผ191 2557 c.2

NHRC Collection On shelf Reserve
Call Number
HF5429.6.T5 ผ191 2557
Title
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน/ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ; สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
Alternate Title
ผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
Alternate Title
Study report on the impact of large retail business on the human rights protection
Imprint
กรุงเทพฯ : สำนักงาน, 2557.
Physical
ก-ข, 216 หน้า ; 30 ซม.
Contents Note
บทที่ 1 บทนำ
--บทที่ 2 แนวคิดและหลักการที่เกี่ยวข้อง
--การพัฒนาที่ยั่งยืน
--กระบวนทัศน์ของรัฐต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
--แนวนโยบายในด้านการบริหารราชการแผ่นดิน
--หลักสิทธิมนุษยชนและการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
--การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
--บทที่ 3 ผลกระทบต่อธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่ที่มีต่อร้านค้าปลีกดั้งเดิมท้องถิ่น
--การประกอบธุรกิจค้าปลีกและธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่ในประเทศไทย
--รูปแบบการขยายสาขาธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่ในประเทศไทย
--ผลกระทบของธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่ที่มีต่อร้านค้าปลีกดั้งเดิมท้องถิ่น
--การรวมตัวของร้านค้าปลีกดั้งเดิมท้องถิ่นเพื่อต่อต้านธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่ต่างชาติ
--บทบาทภาครัฐกับการพิทักษ์รักษาผลประโยชน์ให้แก่ร้านค้าปลีกดั้งเดิมท้องถิ่น
--แนวปฏิบัติของต่างประเทศในการควบคุมการขยายตัวของธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่.
Contents Note
บทที่ 4 ผลกระทบที่มีต่อพฤติกรรม ทัศนคติของประชาชน และรูปแบบวิถีชุมชน
--บทที่ 5 บทวิเคราะห์ถึงผลกระทบธุรกิจการค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
--บทที่ 6 สรุปและเสนอแนะ.
Summary
งานวิจัยนี้พบว่ามาตรการทางกฎหมาย มิได้เป็นปัจจัยที่มีนัยสำคัญในการปกป้องร้านค้าดั้งเดิมท้องถิ่น แต่ปัจจัยที่ทำให้ธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่ไม่สามารถกลืนกินร้านค้าปลีกดั้งเดิมท้องถิ่นหรือร้านค้ากลุ่มทุนชาติ ได้แก่ “การสร้างจิตสำนึกร่วมกัน”ของปัจเจกชน ชุมชนและสังคมให้ตระหนักถึงคุณค่าในความดีของการมีอยู่ของร้านค้าปลีกดั้งเดิมท้องถิ่น ซึ่งเปรียบได้กับ “กระดูกสันหลังของเศรษฐกิจชุมชน” และถือเป็นความงดงามของความหลากหลายในการประกอบอาชีพของคนท้องถิ่น โดยยึดโยงกับกระบวนทัศน์เรื่องการพัฒนาที่สมดุลอย่างยั่งยืนอันมีสิทธิมนุษยชนควบคู่กับศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เป็นปัจจัยหลักใน การพัฒนาประเทศ
Subject Corporate Name
Subject Corporate Name
Subject
Subject
Subject
Subject
Keyword
Keyword
Keyword
Keyword
Keyword Form
Corporate Author
Corporate Author
Link
Link
Link
Link
LEADER : 00000nab 2200000uu 4500
008   140325s2557||||th 000 0 tha d
050 4^aHF5429.6.T5^bผ191 2557
245 10^aรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน/^cมหาวิทยาลัยขอนแก่น ; สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
246 30^aผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน 31^aStudy report on the impact of large retail business on the human rights protection
260 ^aกรุงเทพฯ :^bสำนักงาน, ^c2557.
300 ^aก-ข, 216 หน้า ;^c30 ซม.
505 0 ^aบทที่ 1 บทนำ --^tบทที่ 2 แนวคิดและหลักการที่เกี่ยวข้อง --^tการพัฒนาที่ยั่งยืน --^tกระบวนทัศน์ของรัฐต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน --^tแนวนโยบายในด้านการบริหารราชการแผ่นดิน --^tหลักสิทธิมนุษยชนและการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน --^tการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ --^tบทที่ 3 ผลกระทบต่อธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่ที่มีต่อร้านค้าปลีกดั้งเดิมท้องถิ่น --^tการประกอบธุรกิจค้าปลีกและธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่ในประเทศไทย --^tรูปแบบการขยายสาขาธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่ในประเทศไทย --^tผลกระทบของธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่ที่มีต่อร้านค้าปลีกดั้งเดิมท้องถิ่น --^tการรวมตัวของร้านค้าปลีกดั้งเดิมท้องถิ่นเพื่อต่อต้านธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่ต่างชาติ --^tบทบาทภาครัฐกับการพิทักษ์รักษาผลประโยชน์ให้แก่ร้านค้าปลีกดั้งเดิมท้องถิ่น --^tแนวปฏิบัติของต่างประเทศในการควบคุมการขยายตัวของธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่. 0 ^aบทที่ 4 ผลกระทบที่มีต่อพฤติกรรม ทัศนคติของประชาชน และรูปแบบวิถีชุมชน --^tบทที่ 5 บทวิเคราะห์ถึงผลกระทบธุรกิจการค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน --^tบทที่ 6 สรุปและเสนอแนะ.
520 ^aงานวิจัยนี้พบว่ามาตรการทางกฎหมาย มิได้เป็นปัจจัยที่มีนัยสำคัญในการปกป้องร้านค้าดั้งเดิมท้องถิ่น แต่ปัจจัยที่ทำให้ธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่ไม่สามารถกลืนกินร้านค้าปลีกดั้งเดิมท้องถิ่นหรือร้านค้ากลุ่มทุนชาติ ได้แก่ “การสร้างจิตสำนึกร่วมกัน”ของปัจเจกชน ชุมชนและสังคมให้ตระหนักถึงคุณค่าในความดีของการมีอยู่ของร้านค้าปลีกดั้งเดิมท้องถิ่น ซึ่งเปรียบได้กับ “กระดูกสันหลังของเศรษฐกิจชุมชน” และถือเป็นความงดงามของความหลากหลายในการประกอบอาชีพของคนท้องถิ่น โดยยึดโยงกับกระบวนทัศน์เรื่องการพัฒนาที่สมดุลอย่างยั่งยืนอันมีสิทธิมนุษยชนควบคู่กับศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เป็นปัจจัยหลักใน การพัฒนาประเทศ
610 20^aสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ^xวิจัย 20^aสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ^xรายงานการวิจัย
650 4^aสิทธิมนุษยชน^zไทย 4^aการค้าปลีก^zไทย 4^aการแข่งขันทางการค้า 4^a ธุรกิจขนาดย่อม
653 ^aธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน ^aสิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพ ^aเสรีภาพในการประกอบอาชีพและการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม ^aสิทธิของผู้บริโภค
655 ^aรายงานการวิจัย
710 2 ^aคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ 1 ^aมหาวิทยาลัยขอนแก่น
856 40^zE-book^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/ebook/E07988/ebook.html
856 40^zเอกสารฉบับเต็ม^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Fulltext/F07988.pdf
856 40^3บทคัดย่อ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Abstract/A07988.pdf
856 40^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T07988.pdf
917   ^aNHRC :^c500
955   ^a2 เล่ม
999   ^anopparat
Scroll to top