การคุ้มครองศิลปสิทธิในประเทศไทย

Category Call number Location Status

KPT1160.5 อ125 2547

Thesis & Research Zone On shelf Reserve
ISBN
9745310875 (hbk.)
Call Number
KPT1160.5 อ125 2547
Author
Title
การคุ้มครองศิลปสิทธิในประเทศไทย / อดิจิตร บุญจรัส
Alternate Title
The protection of droit de suite in Thailand
Imprint
กรุงเทพฯ : คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547.
Physical
ก-ญ, 161 แผ่น ; 30 ซม.
Dissertation Note
วิทยานิพนธ์ (น.ม. นิติศาสตร์) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547.
Contents Note
ศิลปสิทธิเป็นสิทธิของศิลปินที่จะได้รับส่วนแบ่งจากการขายงานศิลปกรรมต้นฉบับในครั้งต่อ ๆ ไป ต่อจากการโอนขายครั้งแรก อันเป็นสิทธิทางเศรษฐกิจประการหนึ่งของผู้สร้างสรรค์ที่ควรบัญญัติเพิ่มเติมไว้ในพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 การวิจัยนี้จึงมุ่งศึกษาถึงปัญหาที่จะเกิดขึ้นหรือสืบเนื่องจากการให้ความคุ้มครองศิลปสิทธิในประเทศไทย เพื่อประโยชน์ต่อการเสนอแนะแนวทางในการบัญญัติกฎหมายออกมารองรับต่อไป จากการศึกษาพบว่า การให้ความคุ้มครองศิลปสิทธิในประเทศไทยจำต้องพิจารณาปัญหาสำคัญในประเด็นต่าง ๆ อันได้แก่ ปัญหาเบื้องต้นในการพิจารณาความเป็นผู้สร้างสรรค์งานศิลปกรรม ปัญหาลักษณะของสิทธิที่เกี่ยวข้องกับบุคคลผู้มีสิทธิได้รับค่าสิทธิ ปัญหาขอบเขตของการให้ความคุ้มครอง เช่น ประเภทของงานและธุรกรรมการขายที่ถูกจัดเก็บค่าสิทธิปัญหาในเรื่องกระบวนการจัดเก็บค่าสิทธิ เช่น อัตราการจัดเก็บ รูปแบบขององค์กรจัดเก็บการแบ่งสรรค่าสิทธิและกำหนดเวลาใช้สิทธิเรียกร้อง การติดตามตรวจสอบกรณีการซื้อขายผ่านทางระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ปัญหาในการให้ความคุ้มครองศิลปินในทางระหว่างประเทศรวมถึงปัญหาอื่น ๆ เช่น ปัญหาการให้เช่างานศิลปกรรม ปัญหาทางด้านศิลปินผู้สร้างสรรค์งานทางด้านหอศิลป์ และปัญหาบริบทโดยรวม จากปัญหาต่าง ๆ ดังกล่าว ผู้วิจัยจึงเสนอแนะแนวทางในการให้ความคุ้มครองศิลปสิทธิในประเทศไทย ดังนี้คือ ควรกำหนดให้ศิลปสิทธิที่ไม่อาจโอนได้และห้ามมิให้มีการสละสิทธิการให้ความคุ้มครองควรครอบคลุมถึงงานศิลปกรรมต้นฉบับประเภทวิจิตรศิลป์ โดยจัดเก็บจากการขายต่อสาธารณะทุกประเภทที่มีผู้มีวิชาชีพค้างานศิลปะร่วมอยู่ด้วย ในอัตราร้อยละ 5 ของราคาขายรวม และควรดำเนินการจัดเก็บโดยองค์กรเอกชนของศิลปินที่เป็นองค์กรจัดเก็บกลางที่ไม่แสวงหากำไร มีการให้สิทธิในการรับทราบข้อมูลการขายแก่ศิลปิน โดยใช้สิทธิผ่านทางองค์กรจัดเก็บ และกำหนดหน้าที่ผูกพันทางกฎหมายให้ผู้ค้างานต้องแจ้งข้อมูลการขายให้ทราบ โดยมีสภาพบังคับทางกฎหมายที่เหมาะสม อีกทั้งควรมีการแบ่งสรรค่าสิทธิบางส่วนให้แก่กองทุนทางศิลปะและมีการกำหนดเวลาใช้สิทธิเรียกร้องที่ชัดเจน ทั้งนี้ควรประกอบกับการสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ศิลปินและสร้างจิตสำนึกแก่ผู้ประกอบธุรกิจค้างานศิลปะ ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือสนับสนุนทั้งจากภาครัฐและเอกชน รวมทั้ง การปรับโครงสร้างของระบบค้างานและระบบของตลาดศิลปะควบคู่กันไป เพื่อรองรับต่อการมีกฎหมายศิลปสิทธิให้สามารถดำเนินการปรับใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์ต่อศิลปินได้อย่างแท้จริง.
Subject
Subject
Keyword Form
Coorperative Author
Corporate Author
LEADER : 00000nab 2200000uu 4500
008   131024s2547||||th m 000 0 tha d
020 ^a9745310875 (hbk.)
050 4^aKPT1160.5^bอ125 2547
100 0 ^aอดิจิตร บุญจรัส
245 10^aการคุ้มครองศิลปสิทธิในประเทศไทย /^cอดิจิตร บุญจรัส
246 31^aThe protection of droit de suite in Thailand
260 ^aกรุงเทพฯ :^bคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ^c2547.
300 ^aก-ญ, 161 แผ่น ;^c30 ซม.
502 ^aวิทยานิพนธ์ (น.ม. นิติศาสตร์) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547.
505 0 ^aศิลปสิทธิเป็นสิทธิของศิลปินที่จะได้รับส่วนแบ่งจากการขายงานศิลปกรรมต้นฉบับในครั้งต่อ ๆ ไป ต่อจากการโอนขายครั้งแรก อันเป็นสิทธิทางเศรษฐกิจประการหนึ่งของผู้สร้างสรรค์ที่ควรบัญญัติเพิ่มเติมไว้ในพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 การวิจัยนี้จึงมุ่งศึกษาถึงปัญหาที่จะเกิดขึ้นหรือสืบเนื่องจากการให้ความคุ้มครองศิลปสิทธิในประเทศไทย เพื่อประโยชน์ต่อการเสนอแนะแนวทางในการบัญญัติกฎหมายออกมารองรับต่อไป จากการศึกษาพบว่า การให้ความคุ้มครองศิลปสิทธิในประเทศไทยจำต้องพิจารณาปัญหาสำคัญในประเด็นต่าง ๆ อันได้แก่ ปัญหาเบื้องต้นในการพิจารณาความเป็นผู้สร้างสรรค์งานศิลปกรรม ปัญหาลักษณะของสิทธิที่เกี่ยวข้องกับบุคคลผู้มีสิทธิได้รับค่าสิทธิ ปัญหาขอบเขตของการให้ความคุ้มครอง เช่น ประเภทของงานและธุรกรรมการขายที่ถูกจัดเก็บค่าสิทธิปัญหาในเรื่องกระบวนการจัดเก็บค่าสิทธิ เช่น อัตราการจัดเก็บ รูปแบบขององค์กรจัดเก็บการแบ่งสรรค่าสิทธิและกำหนดเวลาใช้สิทธิเรียกร้อง การติดตามตรวจสอบกรณีการซื้อขายผ่านทางระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ปัญหาในการให้ความคุ้มครองศิลปินในทางระหว่างประเทศรวมถึงปัญหาอื่น ๆ เช่น ปัญหาการให้เช่างานศิลปกรรม ปัญหาทางด้านศิลปินผู้สร้างสรรค์งานทางด้านหอศิลป์ และปัญหาบริบทโดยรวม จากปัญหาต่าง ๆ ดังกล่าว ผู้วิจัยจึงเสนอแนะแนวทางในการให้ความคุ้มครองศิลปสิทธิในประเทศไทย ดังนี้คือ ควรกำหนดให้ศิลปสิทธิที่ไม่อาจโอนได้และห้ามมิให้มีการสละสิทธิการให้ความคุ้มครองควรครอบคลุมถึงงานศิลปกรรมต้นฉบับประเภทวิจิตรศิลป์ โดยจัดเก็บจากการขายต่อสาธารณะทุกประเภทที่มีผู้มีวิชาชีพค้างานศิลปะร่วมอยู่ด้วย ในอัตราร้อยละ 5 ของราคาขายรวม และควรดำเนินการจัดเก็บโดยองค์กรเอกชนของศิลปินที่เป็นองค์กรจัดเก็บกลางที่ไม่แสวงหากำไร มีการให้สิทธิในการรับทราบข้อมูลการขายแก่ศิลปิน โดยใช้สิทธิผ่านทางองค์กรจัดเก็บ และกำหนดหน้าที่ผูกพันทางกฎหมายให้ผู้ค้างานต้องแจ้งข้อมูลการขายให้ทราบ โดยมีสภาพบังคับทางกฎหมายที่เหมาะสม อีกทั้งควรมีการแบ่งสรรค่าสิทธิบางส่วนให้แก่กองทุนทางศิลปะและมีการกำหนดเวลาใช้สิทธิเรียกร้องที่ชัดเจน ทั้งนี้ควรประกอบกับการสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ศิลปินและสร้างจิตสำนึกแก่ผู้ประกอบธุรกิจค้างานศิลปะ ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือสนับสนุนทั้งจากภาครัฐและเอกชน รวมทั้ง การปรับโครงสร้างของระบบค้างานและระบบของตลาดศิลปะควบคู่กันไป เพื่อรองรับต่อการมีกฎหมายศิลปสิทธิให้สามารถดำเนินการปรับใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์ต่อศิลปินได้อย่างแท้จริง.
650 4^aลิขสิทธิ์^xศิลปกรรม 4^aกฎหมายกับศิลปกรรม
655 ^aวิทยานิพนธ์
700 0 ^aAdijit Bunjaras
710 2 ^aจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ^bคณะนิติศาสตร์
917   ^aLIB :^c500
955   ^a1 เล่ม
999   ^acat1
Scroll to top