การสนับสนุนด้านจิตสังคมแก่ผู้เสียหายในคดีอาญาที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา : ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายเยอรมันและกฎหมายไทย

Category Call number Location Status

E-BOOKS On shelf Reserve
Call Number
E-BOOK
Author
Title
การสนับสนุนด้านจิตสังคมแก่ผู้เสียหายในคดีอาญาที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา : ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายเยอรมันและกฎหมายไทย / กรรภิรมย์ โกมลารชุน
Alternate Title
Psychosocial Support for Victims with Intellectual Disability : Comparative Study of German law and Thai law
Imprint
กรุงเทพฯ : คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงการณ์มหาวิทยาลัย, 2567.
Physical
122 หน้า
Contents Note
บทที่ 1 บทนำ
--บทที่ 2 การคุ้มครองผู้เสียหายในคดีอาญาในประเทศเยอรมนีและประเทศไทย
--บทที่ 3 แนวความคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิของผู้เสียหายที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
--บทที่ 4 บทที่ 4 การสนับสนุนด้านจิตสังคมในการดำเนินคดีแก่ผู้เสียหายที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
--บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ.
Summary
ในกรณีที่ผู้บกพร่องทางสติปัญญาตกเป็นเหยื่อจากอาชญากรรมและต้องเข้ามามีส่วนร่วมในคดีอาญาในฐานะพยานผู้เสียหาย พบปัญหาในเรื่องดังกล่าวด้วยกัน 2 ประการ ได้แก่ 1. การตกเป็นเหยื่อโดยอ้อม และ 2. ความน่าเชื่อถือของถ้อยคำของผู้มีความบกพร่องทางสติปัญญาในฐานะพยานผู้เสียหาย ทำให้บุคคลผู้มีความบกพร่องทางสติปัญญามีภาระที่ต้องแบกรับอันเกิดจากการดำเนินคดีอาญามากกว่าคนปกติทั่วไป จึงเกิดความจำเป็นที่องค์กรในกระบวนการยุติธรรมจะต้องคำนึงถึงลักษณะพิเศษของบุคคลเหล่านี้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ไม่ว่าจะในขั้นตอนการสอบปากคำพยานในชั้นสอบสวน การเบิกความในชั้นศาลหรือการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐานหลังจากการสืบพยานสิ้นสุดลง ทั้งนี้ เพื่อรักษาสิทธิเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมของพวกเขาให้เท่าเทียมหรือใกล้เคียงกับบุคคลอื่นทั่วไป.
Subject
Subject
Subject
Subject
Subject
Keyword
Keyword
Corporate Author
Link
Link
Link
LEADER : 00000nab 2200000uu 4500
008   241004s2567||||th 000 0 tha d
099 ^aE-BOOK
100 0 ^aกรรภิรมย์ โกมลารชุน
245 10^aการสนับสนุนด้านจิตสังคมแก่ผู้เสียหายในคดีอาญาที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา :^bศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายเยอรมันและกฎหมายไทย /^cกรรภิรมย์ โกมลารชุน
246 30^aPsychosocial Support for Victims with Intellectual Disability : Comparative Study of German law and Thai law
260 ^aกรุงเทพฯ :^bคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงการณ์มหาวิทยาลัย, ^c2567.
300 ^a122 หน้า
505 0 ^aบทที่ 1 บทนำ --^tบทที่ 2 การคุ้มครองผู้เสียหายในคดีอาญาในประเทศเยอรมนีและประเทศไทย --^tบทที่ 3 แนวความคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิของผู้เสียหายที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา --^tบทที่ 4 บทที่ 4 การสนับสนุนด้านจิตสังคมในการดำเนินคดีแก่ผู้เสียหายที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา --^tบทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ.
520 ^aในกรณีที่ผู้บกพร่องทางสติปัญญาตกเป็นเหยื่อจากอาชญากรรมและต้องเข้ามามีส่วนร่วมในคดีอาญาในฐานะพยานผู้เสียหาย พบปัญหาในเรื่องดังกล่าวด้วยกัน 2 ประการ ได้แก่ 1. การตกเป็นเหยื่อโดยอ้อม และ 2. ความน่าเชื่อถือของถ้อยคำของผู้มีความบกพร่องทางสติปัญญาในฐานะพยานผู้เสียหาย ทำให้บุคคลผู้มีความบกพร่องทางสติปัญญามีภาระที่ต้องแบกรับอันเกิดจากการดำเนินคดีอาญามากกว่าคนปกติทั่วไป จึงเกิดความจำเป็นที่องค์กรในกระบวนการยุติธรรมจะต้องคำนึงถึงลักษณะพิเศษของบุคคลเหล่านี้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ไม่ว่าจะในขั้นตอนการสอบปากคำพยานในชั้นสอบสวน การเบิกความในชั้นศาลหรือการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐานหลังจากการสืบพยานสิ้นสุดลง ทั้งนี้ เพื่อรักษาสิทธิเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมของพวกเขาให้เท่าเทียมหรือใกล้เคียงกับบุคคลอื่นทั่วไป.
650 4^aกฎหมาย^xการมีส่วนร่วมของประชาชน 4^aผู้เสียหาย 4^aการคุ้มครอง 4^aกระบวนการยุติธรรมทางอาญา 4^aการกระทำในทางอาญา
653 ^aสิทธิของผู้เสียหาย ^aE-BOOKS
710 2 ^aจุฬาลงการณ์มหาวิทยาลัย.^bคณะนิติศาสตร์
856 40^zE-BOOK^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/ebook/E14010/ebook.html
856 40^zเอกสารฉบับเต็ม^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/Document/Fulltext/F14010.pdf
856 40^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T14010.pdf
917   ^aGift
955   ^aE-BOOKS
999   ^aSaithip
Scroll to top