สรุปการสัมมนาวิชาการ "ไม่ใส่เครื่อง ถอดเครื่องช่วยหายใจทำได้เพียงใดในระยะท้ายของชีวิต": วันพุธที่ 27 มิถุนายน 2561 เวลา 8.30-12.00 น. ณ ห้องจี๊ด เศรษฐบุตร (LT.1) คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์)

Category Call number Location Status

R726 ก642 2562

General Books Zone On shelf Reserve
ISBN
9786167697895 (pbk.)
Call Number
R726 ก642 2562
Meeting Name
การสัมมนาวิชาการ "ไม่ใส่เครื่อง ถอดเครื่องช่วยหายใจ ทำได้เพียงใดในระยะท้ายของชีวิต"(2561 : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
Title
สรุปการสัมมนาวิชาการ "ไม่ใส่เครื่อง ถอดเครื่องช่วยหายใจทำได้เพียงใดในระยะท้ายของชีวิต": วันพุธที่ 27 มิถุนายน 2561 เวลา 8.30-12.00 น. ณ ห้องจี๊ด เศรษฐบุตร (LT.1) คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) / พิสิษฐ์ ศรีอัคคโภคิน เขียนและเรียบเรียง
Alternate Title
Withholding and withdrawing of life-sustaining treatment
Imprint
นนทบุรี : สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ, 2562.
Physical
137 หน้า : ภาพประกอบ, แผนภูมิ ; 21 ซม.
Contents Note
ปาฐกถาของนายแพทย์พลเดช ปิ่นประทีป ในงานประชุมวิชาการฯ
--สรุปผลการสัมมนาวิชาการฯ
--การไม่ใส่ การถอดเครื่องช่วยหายใจในวาระสุดท้ายของชีวิต คือ การใช้สิทธิขอตายตามธรรมชาติ/ แสวง บุญเฉลิมวิภาส และไพศาล ลิ้มสถิตย์
--Withhold-withdraw of life support measures at the end of life/ ชนินทร์ ลิ่มวงศ์
--Withhold-withdraw of life support where are we now?/ ศรีเวียง ไพโรจน์กุล.
Summary
การถอดท่อช่วยหายใจหรือการไม่ใช้ท่อช่วยหายใจเพื่อยื้อชีวิตผู้ป่วย (Withholding and withdrawing of life-sustaining treatment) เป็นประเด็นหนึ่งที่สำคัญของเรื่องการดูแลแบบประคับประคอง (Palliative care) เนื่องจากมีหลายครั้งที่ผู้ป่วยแจ้งด้วยวาจาแก่แพทย์ หรือ เขียนสั่งไว้ในหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขฯ ตามมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ไว้ การไม่ใช้เครื่องช่วยหายใจแต่ต้นดูจะตัดสินใจได้ง่ายกว่าการที่จะถอดเครื่องช่วยหายใจออก โดยทุกครั้งที่แพทย์ตัดสินใจว่าจะถอดเครื่อง ช่วยหายใจก็มักจะมีประเด็นทางกฎหมาย ศาสนา บริบทของครอบครัวประเด็นจริยธรรมทางการแพทย์ รวมทั้งการสื่อสารให้ญาติผู้ป่วย เข้าใจ เข้ามาเป็นปัจจัยให้แพทย์ต้องขบคิดและตัดสินใจเสมอๆ เพราะผู้ป่วยแต่ละรายมีเงื่อนไขเหล่านี้แตกต่างกันออกไป ดังนั้นจึงต้องมีการ พัฒนาองค์ความรู้ในเรื่องดังกล่าวทั้งนี้เพื่อใช้เป็นเครื่องมือและแนวทางเพื่อช่วยการทำงานของแพทย์และโรงพยาบาลต่างๆ.
Subject
Subject
Subject
Subject
Subject
Keyword
Coorperative Author
Corporate Author
Link
Link
LEADER : 00000nab 2200000uu 4500
008   200121s2562||||th a 000 0 tha d
020 ^a9786167697895 (pbk.)
050 4^aR726^bก642 2562
111 2 ^aการสัมมนาวิชาการ "ไม่ใส่เครื่อง ถอดเครื่องช่วยหายใจ ทำได้เพียงใดในระยะท้ายของชีวิต"^d(2561 :^cมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
245 10^aสรุปการสัมมนาวิชาการ "ไม่ใส่เครื่อง ถอดเครื่องช่วยหายใจทำได้เพียงใดในระยะท้ายของชีวิต":^bวันพุธที่ 27 มิถุนายน 2561 เวลา 8.30-12.00 น. ณ ห้องจี๊ด เศรษฐบุตร (LT.1) คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) /^cพิสิษฐ์ ศรีอัคคโภคิน เขียนและเรียบเรียง
246 31^aWithholding and withdrawing of life-sustaining treatment
260 ^aนนทบุรี :^bสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ, ^c2562.
300 ^a137 หน้า :^bภาพประกอบ, แผนภูมิ ;^c21 ซม.
505 0 ^aปาฐกถาของนายแพทย์พลเดช ปิ่นประทีป ในงานประชุมวิชาการฯ --^tสรุปผลการสัมมนาวิชาการฯ --^tการไม่ใส่ การถอดเครื่องช่วยหายใจในวาระสุดท้ายของชีวิต คือ การใช้สิทธิขอตายตามธรรมชาติ/^rแสวง บุญเฉลิมวิภาส และไพศาล ลิ้มสถิตย์ -- ^tWithhold-withdraw of life support measures at the end of life/^rชนินทร์ ลิ่มวงศ์ --^tWithhold-withdraw of life support where are we now?/^rศรีเวียง ไพโรจน์กุล.
520 ^aการถอดท่อช่วยหายใจหรือการไม่ใช้ท่อช่วยหายใจเพื่อยื้อชีวิตผู้ป่วย (Withholding and withdrawing of life-sustaining treatment) เป็นประเด็นหนึ่งที่สำคัญของเรื่องการดูแลแบบประคับประคอง (Palliative care) เนื่องจากมีหลายครั้งที่ผู้ป่วยแจ้งด้วยวาจาแก่แพทย์ หรือ เขียนสั่งไว้ในหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขฯ ตามมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ไว้ การไม่ใช้เครื่องช่วยหายใจแต่ต้นดูจะตัดสินใจได้ง่ายกว่าการที่จะถอดเครื่องช่วยหายใจออก โดยทุกครั้งที่แพทย์ตัดสินใจว่าจะถอดเครื่อง ช่วยหายใจก็มักจะมีประเด็นทางกฎหมาย ศาสนา บริบทของครอบครัวประเด็นจริยธรรมทางการแพทย์ รวมทั้งการสื่อสารให้ญาติผู้ป่วย เข้าใจ เข้ามาเป็นปัจจัยให้แพทย์ต้องขบคิดและตัดสินใจเสมอๆ เพราะผู้ป่วยแต่ละรายมีเงื่อนไขเหล่านี้แตกต่างกันออกไป ดังนั้นจึงต้องมีการ พัฒนาองค์ความรู้ในเรื่องดังกล่าวทั้งนี้เพื่อใช้เป็นเครื่องมือและแนวทางเพื่อช่วยการทำงานของแพทย์และโรงพยาบาลต่างๆ.
650 4^aสิทธิการตาย^xกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ 4^aผู้ป่วยระยะสุดท้าย^xการดูแล 4^aจรรยาแพทย์ 4^aพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ 4^aสุขภาพ^xกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ
653 ^aNew Arrivals 10-2020
700 0 ^aพิสิษฐ์ ศรีอัคคโภคิน
710 2 ^aสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
856 40^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T11169.pdf
856 40^zเอกสารฉบับเต็ม^uhttps://infocenter.nationalhealth.or.th/node/27389
917   ^aGift :^c200
955   ^a1 เล่ม
999   ^aKeyrunya
Scroll to top