Page 3 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่บทสรุปการศึกษา เหลียวหลังแลหน้า 2 ทศวรรษ สิทธิมนุษยชนในสังคมไทย
P. 3

2  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ


           ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ

              เอกสาร/สื่อเผยแพร่บทสรุปการศึกษา “เหลียวหลังแลหน้า 2 ทศวรรษ สิทธิมนุษยชน
              ในสังคมไทย”.-- กรุงเทพฯ : ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, 2565.
              50 หน้า.

              1. สิทธิมนุษยชน. I. พัทธ์ธีรา นาคอุไรรัตน์. II. ชื่อเรื่อง.

            323
            ISBN 978-616-8274-20-0


           พิมพ์ครั้งที่ 1 : สิงหาคม 2565
           จ�านวนพิมพ์ : 2,000 เล่ม


           จัดพิมพ์โดย  : ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
                          ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550
                          อาคารรัฐประศาสนภักดี (อาคารบี) ชั้น 6 - 7
                          120 หมู่ที่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210
                          โทรศัพท์ 0-2141-3800, 0-2141-3900
                          สายด่วนร้องเรียน 1377
                          เว็บไซต์ : www.nhrc.or.th

           ออกแบบเนื้อในและพิมพ์ที่:   บริษัท พริ้นท์เอเบิ้ล จำ�กัด
                              เลขที่ 285 ซอยพัฒนาการ 53 แขวงพัฒนาการ เขตสวนหลวง กทม. 10250
                              สอบถามสินค้าและบริการ 094-559-2965

           สงวนลิขสิทธิ์ในประเทศไทยตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2558 ยอมให้แจกจ่าย เปลี่ยนแปลง ดัดแปลง หรือใช้งานต้นฉบับ
           ที่ไม่ได้เป็นการท�เพื่อวัตถุประสงค์ในทางการค้า แต่ผู้รับอนุญาตต้องรับรู้ความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์งานที่น�ไปใช้เสมอ
           รวมทั้งเผยแพร่งานสร้างสรรค์ใหม่บนสัญญาอนุญาตแบบเดียวกันเสมอ







               วัตถุประสงค์
               เอกสาร/สื่อเผยแพร่ผลการศึกษาฉบับนี้ จัดท�าขึ้นเพื่อเผยแพร่บทสรุปการศึกษา “เหลียวหลังแลหน้า
               2 ทศวรรษ สิทธิมนุษยชนในสังคมไทย” โดยประมวลจากรายงานการศึกษา “เหลียวหลังแลหน้า 2 ทศวรรษ
               สิทธิมนุษยชนในสังคมไทย” ซึ่งจัดท�าโดยคณะผู้ศึกษาจากสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัย
               มหิดล เพื่อใช้เผยแพร่เป็นการทั่วไปกับบุคคล ภาคประชาชน องค์กรชุมชน ภาคเอกชน รวมถึงหน่วยงานรัฐ
               ทั้งภาคปฏิบัติและภาคนโยบาย เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อน และสร้างรูปธรรมการด�าเนินการเพื่อส่งเสริม
               และคุ้มครองสิทธิมนุษยชน รวมถึงน�าไปใช้ประโยชน์ที่เกี่ยวข้อง
   1   2   3   4   5   6   7   8