Page 19 - คู่มือสิทธิมนุษยชนศึกษาสำหรับประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
P. 19

ส่วนที่ ๒
                     มาตรฐานสิทธิมนุษยชนส�าหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐในพื้นที่

                                    จังหวัดชายแดนภาคใต้




                     กำรใช้ควำมรุนแรงสร้ำงสถำนกำรณ์ควำมไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชำยแดนภำคใต้

               เป็นปัญหำที่ปรำกฏเหตุกำรณ์อันกระทบต่อควำมมั่นคงภำยในรำชอำณำจักร และ
               เพื่อให้กำรบริหำรจัดกำรกำรรักษำควำมสงบและควำมปลอดภัยมีเอกภำพและ
               ประสิทธิภำพอย่ำงสูงสุด รัฐบำลจึงมีกำรใช้ก�ำลังเจ้ำหน้ำที่ฝ่ำยทหำร เจ้ำหน้ำที่

               ฝ่ำยปกครองหรือต�ำรวจ หรือเจ้ำหน้ำที่ฝ่ำยพลเรือน ด�ำเนินมำตรกำรตำมกฎหมำย
               เกี่ยวกับควำมมั่นคง
                     แต่โดยที่ เมื่อรัฐบำลประกำศสถำนกำรณ์ฉุกเฉินหรือสถำนกำรณ์พิเศษ สิทธิมนุษยชน

               ตำมที่สนธิสัญญำสิทธิมนุษยชนแต่ละฉบับได้ก�ำหนดไว้อำจถูกระงับได้ชั่วครำว คือ
               สิทธิต่ำงๆ ที่อำจถูกลดทอนโดยรัฐได้ ตัวอย่ำงสิทธิที่อำจลดทอนได้ เช่น สิทธิในกำร

               ชุมนุมประท้วง  สิทธิในกำรแสดงออก  สิทธิในกำรรวมกลุ่มสมำคม  กำรจับกุมคุมขัง
               บุคคล กำรค้น ส่วนสิทธิบำงประเภทนั้น รัฐไม่อำจจ�ำกัดได้ เช่น สิทธิในชีวิต สิทธิ
               ที่จะได้รับกำรพิจำรณำคดีอย่ำงเป็นธรรม สิทธิในควำมเชื่อนับถือศำสนำ สิทธิที่จะ

               ไม่ถูกทรมำน
                     ดังนั้น ในกำรเชิญและควบคุมตัวบุคคลใดๆ เป็นกำรพิเศษหรือเป็นกำรเฉพำะ

               เจ้ำหน้ำที่ต้องปฏิบัติต่อผู้ถูกเชิญหรือควบคุมตัวในฐำนะที่เป็นเพียงผู้ต้องสงสัย  และ
               ยังไม่อำจกล่ำวได้ว่ำเป็นผู้กระท�ำผิด  และควรน�ำแนวทำงปฏิบัติที่เป็นมำตรฐำนสำกล
               มำปรับใช้เพื่อเป็นหลักประกันว่ำบุคคลจะได้รับกำรปฏิบัติภำยใต้กฎหมำยและ

               หลักสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวข้อง  เพื่อกำรได้รับกำรยอมรับจำกประชำคมโลกอันจะ
               น�ำมำซึ่งประโยชน์ของประเทศชำติต่อไป




             ๑๘  คู่มือสิทธิมนุษยชนศึกษาส�าหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้



               18-9-62.indd   18                                              18/9/2562   21:58:34
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24