Page 11 - คู่มือสิทธิมนุษยชนศึกษาสำหรับประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
P. 11

ส่วนที่ ๑
                         ความรู้และหลักกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน




               สิทธิมนุษยชน หมายถึงอะไร

                     สิทธิมนุษยชน (Human Rights) หมำยถึง สิทธิที่มีตำมธรรมชำติ ซึ่งติดตัว
               มนุษย์มำตั้งแต่เกิด โดยมีควำมเป็นสำกลและมีกำรรับรองไว้ในปฏิญญำสำกลว่ำด้วย

               สิทธิมนุษยชน หรือกติกำ  อนุสัญญำ  ข้อตกลงต่ำง ๆ  ระหว่ำงประเทศด้ำนสิทธิมนุษยชน
               ที่ทั่วโลกให้กำรยอมรับ (กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภำพ กระทรวงยุติธรรม และ

               ศูนย์วิจัยและพัฒนำอำชญำวิทยำและกระบวนกำรยุติธรรม มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์,
               ๒๕๕๒ : ๖)

                     พระรำชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่ำด้วยคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
               พ.ศ.  ๒๕๖๐  ได้ก�ำหนดนิยำมค�ำว่ำ  “สิทธิมนุษยชน”  หมำยถึง  ศักดิ์ศรีควำมเป็น

               มนุษย์ สิทธิ เสรีภำพ และควำมเสมอภำคของบุคคล บรรดำที่ได้รับกำรรับรองหรือ
               คุ้มครองตำมรัฐธรรมนูญ ตำมกฎหมำย หรือตำมหนังสือสัญญำที่ประเทศไทยเป็นภำคี

               และมีพันธกรณีที่จะต้องปฏิบัติตำม



               หลักการของสิทธิมนุษยชน
                     ในช่วงเวลำหลำยร้อยปีที่ผ่ำนมำ สังคมโลกเริ่มเข้ำใจและยอมรับว่ำมนุษย์ทุกคน

               ล้วนมีสิทธิต่ำงๆ แต่ยังไม่มีควำมชัดเจนมำกนัก จนกระทั่งหลังสงครำมโลกครั้งที่สอง
               ประเทศผู้น�ำต่ำงๆ ในโลกตระหนักถึงควำมส�ำคัญของสิทธิมนุษยชนจึงได้ร่วมกันจัดท�ำ

               ตรำสำรที่ครอบคลุมประเด็นสิทธิมนุษยชนอย่ำงสมบูรณ์ขึ้นเป็นครั้งแรก ตรำสำร
               ดังกล่ำวนี้เรียกว่ำ “ปฏิญญำสำกลว่ำด้วยสิทธิมนุษยชน”



             ๑๐  คู่มือสิทธิมนุษยชนศึกษาส�าหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้



               18-9-62.indd   10                                              18/9/2562   21:58:33
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16