Page 14 - โทษประหารชีวิตและหลักสิทธิมนุษยชน
P. 14

นอกจากนี้ ข้อมูลสถิติจากกระทรวงการต่างประเทศระหว่าง

              ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ - ๒๕๕๖ มีบุคคลสัญชาติไทยต้องโทษประหารชีวิต
              ในต่างประเทศซึ่งเป็นคดีที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด ดังนี้  ๖

                    ๑)  สาธารณรัฐประชาชนจีน        จำานวน  ๒๓  คน
                        (หญิง ๒๐ คน ชาย ๓ คน)

                    ๒)  สหพันธรัฐมาเลเซีย          จำานวน  ๑๘  คน
                        (หญิง ๑๐ คน ชาย ๘ คน)

                    ๓)  สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม  จำานวน  ๓  คน
                        (หญิงทั้งหมด)

                    จากตารางที่ ๑ สถิตินักโทษเด็ดขาดประหารชีวิตตั้งแต่

              ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ - ๒๕๕๖ มีนักโทษประหารชีวิต จำานวนทั้งสิ้น ๕๑๕ คน
              ยื่นฎีกาขอพระราชทานอภัยโทษ ๕๐๐ คน  ได้รับการพระราชทาน
              อภัยโทษแล้วจำานวนหนึ่ง และมีเพียง ๒ รายซึ่งเป็นนักโทษประหาร

              ชีวิตซึ่งคดีถูกยกฎีกาและถูกประหารชีวิตด้วยการฉีดยา เมื่อวันที่
                                ๗
              ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๒    และจากตารางที่ ๒ แสดงให้เห็นว่านักโทษที่
              ต้องโทษประหารชีวิตส่วนใหญ่เป็นคดียาเสพติด โดยในปี พ.ศ. ๒๕๕๖
              มีจำานวนนักโทษประหารชีวิตทั้งหมด ๑๐๒ คน เป็นนักโทษประหาร

              คดียาเสพติด ๔๒ คน  คิดเป็นร้อยละ ๔๑.๑๘  หรือเกือบครึ่งหนึ่งของ

              นักโทษประหารชีวิตทั้งหมด  นอกจากนี้พบว่ามีบุคคลสัญชาติไทย
              ซึ่งต้องโทษประหารชีวิตในภูมิภาคเอเชีย ได้แก่ ประเทศสาธารณรัฐ




              ๖
                 ข้อมูลจากกระทรวงการต่างประเทศ เมื่อวันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๖
              ๗
                 ผู้จัดการ(ออนไลน์), ๓๐ กันยายน ๒๕๕๗ แหล่งที่มา www.manager.co.th/crime/
                 ViewNews.aspx?NewsID=9520000107174


         12
   DEATH PENALTY HUMAN RIGHTS
              โทษประหารชีวิตและหลักสิทธิมนุษยชน
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19