Page 6 - การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรีและเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย
P. 6

Enforced Disappearance : CED) ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันบุคคล

            จากการหายสาบสูญโดยถูกบังคับ
                   เมื่อพิจารณาพันธกรณีของประเทศไทยในฐานะรัฐภาคีของ
            อนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ  เจตนารมณ์ของไทยที่จะเข้าเป็นภาคี

            พิธีสารเลือกรับแห่งอนุสัญญาต่อต้านการทรมาน และอนุสัญญาระหว่าง

            ประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหายในอนาคต
            และข้อผูกพันต่อข้อเสนอแนะจากกระบวนการ Universal Periodic
            Review (UPR) ซึ่งประเทศไทยรับมาปฏิบัติ  ตลอดจนเห็นว่ากฎหมาย

            ภายในของประเทศไทยยังไม่สอดคล้องกับพันธกรณีในอนุสัญญาต่อต้าน

            การทรมานฯ ซึ่งประเทศไทยเป็นภาคีแล้ว  และพันธกรณีในพิธีสาร
            เลือกรับของอนุสัญญาฉบับนี้  รวมถึงอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วย
            การคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย  ซึ่ง ๒ ฉบับหลังประเทศไทย

            จะให้สัตยาบันในอนาคต  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติจึง

            เห็นควรศึกษากฎหมายภายในที่เกี่ยวข้องและจัดทำาข้อเสนอแนะ
            นโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมายเพื่ออนุวัติการตาม
            อนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ  รวมทั้งเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็น






















       4       การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม
               หรือที่ย่ำายีศักดิ์ศรี และเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ
               รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11