Page 4 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 4

พ.ศ. ๒๕๔๕, พ.ร.บ.  คุ้มครองเด็ก (๒๕๔๖),  พ.ร.บ.  คุ้มครองผู้ถูกกระท ำด้วยควำมรุนแรงในครอบครัว

               (๒๕๕๐), พ.ร.บ.  ส่งเสริมกำรพัฒนำเด็กและเยำวชนแห่งชำติ (๒๕๕๐) และประมวลกฎหมำยอำญำ
               มำตรำ ๓๐๑-๓๐๕ บทกฎหมำยต่ำงๆ ของรัฐไทย มีควำมพยำยำมอย่ำงยิ่งต่อกำรคุ้มครองสิทธิเด็กและ

               เยำวชน ในฐำนะประชำชนพลเมืองของรัฐ ซึ่งเป็นกำรมุ่งเน้นในประเด็นควำมรุนแรง ทำรุณกรรม

               กำรบังคับ และกำรเลือกปฏิบัติ รวมไปถึงสิทธิในกำรพัฒนำยกระดับคุณภำพชีวิต ควำมเป็นอยู่ผ่ำน

               กำรศึกษำ แต่ไม่ได้มุ่งให้ควำมส ำคัญถึงกำรอยู่ในวัยเจริญพันธุ์ อนำมัยเจริญพันธุ์ และสิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์

               ของเด็กและเยำวชน น ำไปสู่กำรไม่มีกฎหมำย บทบัญญัติในกำรคุ้มครองสิทธิของเยำวชนหญิงตั้งครรภ์ ใน
               กำรดูแลและป้ องกันสุขภำพ ในกำรตัดสินใจว่ำจะมีบุตรหรือไม่และจะมีเมื่อใด กำรเข้ำถึงบริกำร ควำมรู้

               ส ำหรับยุติกำรตั้งครรภ์ ร้ำยไปกว่ำนั้น กำรท ำแท้งหรือยุติกำรตั้งครรภ์ยังถูกบัญญัติในฐำนะอำชญำกรรม

               อย่ำงหนึ่งที่มีบทลงโทษชัดเจน และอยู่บนกำรตีควำมของแพทย์และเจ้ำหน้ำที่จำกภำครัฐเท่ำนั้น ไม่ใช่กำร

               ตัดสินใจของเยำวชนหญิงผู้ตั้งครรภ์ ทั้งๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของสิทธิมนุษยชน

                       และเพื่อให้งำนวิจัยชิ้นนี้รอบด้ำน และสอดคล้องกับกำรก้ำวไปสู่ประชำคมอำเซียนของประเทศ จึง
               ได้ศึกษำถึงหลักกฎหมำยบำงประเทศในภูมิภำคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเลือกจำกพื้นฐำนทำงสังคมที่

               แตกต่ำงกัน ได้แก่ เวียดนำมที่อิทธิพลของลัทธิขงจื้อมีบทบำทอย่ำงมำกต่อกระบวนทัศน์ของสมำชิกใน

               สังคม รวมไปถึงบทกฎหมำย,  กฎหมำยฟิลิปปินส์ที่ตั้งอยู่บนจุดยืนของศำสนจักรโรมันคำทอลิก ซึ่งมี

               อิทธิพลอย่ำงมำกต่อกำรวำงแผนครอบครัว และอินโดนีเซียกฎหมำยคุ้มครองสิทธิมนุษยชนแต่ต้องอยู่
               ภำยใต้ควำมเชื่อทำงศำสนำอิสลำม ทั้งนี้เพื่อเป็นแนวทำงในกำรแก้ไขปัญหำกำรละเมิดสิทธิมนุษยชน สิทธิ

               อนำมัยเจริญพันธุ์ของเยำวชนหญิง ผ่ำนกำรแก้กฎหมำยและเพื่อเป็นประโยชน์ในกำรใช้ประกอบร่ำง

               พ.ร.บ. อนำมัยเจริญพันธุ์ ซึ่งกฎหมำยของทั้ง ๓ ประเทศ มีข้อเหมือนและแตกต่ำงไปตำมบริบททำงสังคม

               และวัฒนธรรม ฐำนคิดของสังคมที่เป็นตัวก ำกับและสะท้อนออกมำในตัวบทกฎหมำย นโยบำยและ
               มำตรกำร แม้ว่ำทั้ง ๓ ประเทศจะรับเอำมุมมองเรื่องสิทธิมนุษยชน แต่กำรน ำแนวคิดนี้มำใช้มีควำม

               แตกต่ำงกันไปตำมบริบทศำสนำสังคมและวัฒนธรรมซึ่งถูกยกให้มีควำมส ำคัญเหนือกว่ำสิทธิมนุษยชน

               ฐำนคิดของคนในสังคมของแต่ละประเทศที่ถูกกรอบไว้ด้วยควำมคิดควำมเชื่อทำงศำสนำ บรรทัดฐำนทำง

               สังคมและวัฒนธรรม และมีอิทธิพลเหนืออนุสัญญำต่ำงๆ ท ำให้ท้ำยที่สุด สิทธิของผู้หญิง โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง

               เยำวชนหญิงถูกจ ำกัดและลิดรอน สิ่งที่เหมือนกันของทั้ง ๓ ประเทศอีกประกำรหนึ่งคือ ยังไม่มีควำมชัดเจน
               เรื่องสิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์ว่ำคือ สิทธิมนุษยชน และไม่มีกฎหมำยอนำมัยเจริญพันธุ์ ซึ่งจะช่วยเติมเต็มกำร

               เข้ำถึงสิทธิด้ำนต่ำงๆ ของเยำวชนหญิงที่ตั้งครรภ์โดยไม่พร้อม เพรำะอคติของคนในสังคมที่ไม่ยอมรับกำร

               ตั้งครรภ์ของเยำวชนหญิง ท ำให้ไม่ได้รับกำรคุ้มครองทำงกฎหมำย และกำรสนับสนุนทำงสังคม ส่งผลให้

               เยำวชนหญิงเหล่ำนี้ไม่สำมำรถเข้ำถึงสิทธิในด้ำนต่ำงๆ ของตนได้อย่ำงเต็มที่
                       สรุปได้ว่ำกฎหมำยของ ๓ ประเทศครอบคลุมถึงสิทธิ ได้แก่ สิทธิในกำรมีชีวิตอยู่อย่ำงมีศักดิ์ศรี

               ควำมเป็นมนุษย์ สิทธิในกำรได้รับข้อมูลข่ำวสำรและกำรศึกษำ สิทธิในกำรตัดสินใจว่ำจะมีบุตรหรือไม่และ





                                                                                                        ๔
   1   2   3   4   5   6   7   8   9