รายงานเรื่องโทษประหารชีวิตในประเทศไทย

ประเภท เลขเรียก สถานที่ สถานะ

HV8699.T5 ท881 2557

มุมสิ่งพิมพ์สำนักงาน กสม. บนชั้น ขอยืม

HV8699.T5 ท881 2557 c.1

มุมสิ่งพิมพ์สำนักงาน กสม. บนชั้น ขอยืม

HV8699.T5 ท881 2557 c.2

มุมสิ่งพิมพ์สำนักงาน กสม. บนชั้น ขอยืม
เลขเรียก
HV8699.T5 ท881 2557
ชื่อเรื่อง
รายงานเรื่องโทษประหารชีวิตในประเทศไทย/ คณะอนุกรรมการปฏิบัติการยุทธศาสตร์ด้านสิทธิในกระบวนการยุติธรรม สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ชื่อเรื่องที่แตกต่าง
โทษประหารชีวิตในประเทศไทย
ชื่อเรื่องที่แตกต่าง
Report on death penalty in Thailand.
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : คณะอนุกรรมการ, 2557.
รูปเล่ม
209 หน้า ; 30 ซม.
หมายเหตุสารบัญ
บทที่ 1 บทนำ
--บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
--ความเป็นมา แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับโทษประหารประหารชีวิต
--พัฒนาการเกี่ยวกับการลงโทษประหารชีวิตในประเทศไทยและต่างประเทศ
--สถานการณ์เกี่ยวกับการประหารชีวิตในปัจจุบัน
--สิทธิมนุษยชนกับโทษประหารชีวิต
--โทษประหารชีวิตกับหลักการที่สำคัญในสังคมไทย
--บทที่ 3 ผลการเสวนา
--การเสวนา เรื่อง “โทษประหารชีวิต...สังคมไทยคิดอย่างไร”
--การเสวนา เรื่อง “โทษประหารชีวิต”
--บทที่ 4 บทวิเคราะห์
--บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ.
บทคัดย่อ
รายงานเรื่อง “โทษประหารชีวิตในประเทศไทย” พบว่าโทษประหารชีวิตเป็นการลงโทษผู้กระทำผิดที่มีกำหนดโทษสูงสุดของสังคมมาตั้งแต่อดีตจนกระทั่งถึงปัจจุบัน โดยในอดีตเป็นการลงโทษด้วยวิธีการที่โหดร้ายทารุณเพื่อแก้แค้นทดแทนต่อผู้กระทำผิดเป็นสำคัญ รวมทั้งเพื่อเป็นการข่มขู่ยับยั้งและการตัดโอกาสในการกระทำผิด เพื่อเป็นการตอบสนองต่อรัฐในการรักษาความสงบเรียบร้อยและความเป็นธรรมในสังคม หากแต่ปัจจุบันวัตถุประสงค์ของการลงโทษได้เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นการลงโทษเพื่อแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิดเป็นสำคัญ ประกอบกับการลงโทษประหารชีวิตเพื่อเป็นการแก้แค้นทดแทนไม่ได้ทำให้สังคมเกิดประโยชน์สูงสุดแต่ประการใด นอกจากนี้การใช้โทษประหารชีวิตไม่สามารถมีผลต่อการยับยั้งอาชญากรรมได้อย่างแท้จริง รวมทั้งกระแสการให้ความสำคัญต่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของประชาชนในสังคม ทำให้ประเทศส่วนใหญ่ได้มีการยกเลิกการใช้โทษประหารชีวิต เพราะการใช้โทษประหารชีวิตเป็นการกระทำที่ละเมิดต่อสิทธิมนุษยชน รวมทั้งเป็นการกระทำที่ขัดต่อหลักของศาสนา ด้วยเหตุนี้ปัจจุบันประเทศส่วนใหญ่ทั่วโลกจำนวนมากกว่าสองในสามได้ยกเลิกโทษประหารชีวิตในทางกฎหมายและในทางปฏิบัติ...
หัวเรื่องชื่อนิติบุคคล
หัวเรื่องชื่อนิติบุคคล
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
คำศัพท์
คำศัพท์
คำศัพท์
คำศัพท์
คำศัพท์
คำศัพท์เนื้อหา
ผู้แต่งนิติบุคคล
เชื่อมโยง
เชื่อมโยง
เชื่อมโยง
สารบัญ
LEADER : 00000nab 2200000uu 4500
008   140224s2557||||th 000 0 tha d
050  4^aHV8699.T5^bท881 2557
245 10^aรายงานเรื่องโทษประหารชีวิตในประเทศไทย/^cคณะอนุกรรมการปฏิบัติการยุทธศาสตร์ด้านสิทธิในกระบวนการยุติธรรม สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
246 30^aโทษประหารชีวิตในประเทศไทย
246  31^aReport on death penalty in Thailand.
260   ^aกรุงเทพฯ :^bคณะอนุกรรมการ, ^c2557.
300   ^a209 หน้า ^c30 ซม.
505 0 ^aบทที่ 1 บทนำ --^tบทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง --^tความเป็นมา แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับโทษประหารประหารชีวิต --^tพัฒนาการเกี่ยวกับการลงโทษประหารชีวิตในประเทศไทยและต่างประเทศ --^tสถานการณ์เกี่ยวกับการประหารชีวิตในปัจจุบัน --^tสิทธิมนุษยชนกับโทษประหารชีวิต --^tโทษประหารชีวิตกับหลักการที่สำคัญในสังคมไทย --^tบทที่ 3 ผลการเสวนา --^tการเสวนา เรื่อง “โทษประหารชีวิต...สังคมไทยคิดอย่างไร” --^tการเสวนา เรื่อง “โทษประหารชีวิต” --^tบทที่ 4  บทวิเคราะห์ --^tบทที่ 5  บทสรุปและข้อเสนอแนะ.
520   ^aรายงานเรื่อง  “โทษประหารชีวิตในประเทศไทย”  พบว่าโทษประหารชีวิตเป็นการลงโทษผู้กระทำผิดที่มีกำหนดโทษสูงสุดของสังคมมาตั้งแต่อดีตจนกระทั่งถึงปัจจุบัน  โดยในอดีตเป็นการลงโทษด้วยวิธีการที่โหดร้ายทารุณเพื่อแก้แค้นทดแทนต่อผู้กระทำผิดเป็นสำคัญ  รวมทั้งเพื่อเป็นการข่มขู่ยับยั้งและการตัดโอกาสในการกระทำผิด เพื่อเป็นการตอบสนองต่อรัฐในการรักษาความสงบเรียบร้อยและความเป็นธรรมในสังคม หากแต่ปัจจุบันวัตถุประสงค์ของการลงโทษได้เปลี่ยนแปลงไป  โดยเน้นการลงโทษเพื่อแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิดเป็นสำคัญ ประกอบกับการลงโทษประหารชีวิตเพื่อเป็นการแก้แค้นทดแทนไม่ได้ทำให้สังคมเกิดประโยชน์สูงสุดแต่ประการใด นอกจากนี้การใช้โทษประหารชีวิตไม่สามารถมีผลต่อการยับยั้งอาชญากรรมได้อย่างแท้จริง รวมทั้งกระแสการให้ความสำคัญต่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของประชาชนในสังคม ทำให้ประเทศส่วนใหญ่ได้มีการยกเลิกการใช้โทษประหารชีวิต  เพราะการใช้โทษประหารชีวิตเป็นการกระทำที่ละเมิดต่อสิทธิมนุษยชน รวมทั้งเป็นการกระทำที่ขัดต่อหลักของศาสนา ด้วยเหตุนี้ปัจจุบันประเทศส่วนใหญ่ทั่วโลกจำนวนมากกว่าสองในสามได้ยกเลิกโทษประหารชีวิตในทางกฎหมายและในทางปฏิบัติ...
610 20^aสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ^xวิจัย
610  20^aสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ^xรายงานการวิจัย  
650  4^aการประหารชีวิตและเพชฌฆาต^zไทย  
650  4^aการลงโทษ^zไทย  
650  4^aสิทธิมนุษยชน^zไทย
653   ^aประหารชีวิต   
653   ^aสิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคล (Personal Rights and Liberties)   
653   ^aสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย (Right and liberty in the life and person)   
653   ^aการทรมาน (Torture)   
653   ^aสิทธิในกระบวนการยุติธรรม (Rights in Judicial Process)
655   ^aรายงานการวิจัย 
710 2 ^aคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. ^bคณะอนุกรรมการปฏิบัติการยุทธศาสตร์ด้านสิทธิในกระบวนการยุติธรรม
856 40^zE-book^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/ebook/E07970/ebook.html
856 40^zเอกสารฉบับเต็ม^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Fulltext/F07970.pdf
856 40^zบทสรุปผู้บริหาร^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Abstract/A07970.pdf
856 40^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T07970.pdf
917   ^aNHRC :^c500 
955   ^a2 เล่ม
999   ^anopparat
เลื่อนขึ้นด้านบน