รายงานฉบับสมบูรณ์ ทัศนคติของเจ้าหน้าที่ตำรวจเกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมายกับการคุ้มครองสิทธิในกระบวนการยุติธรรมของประชาชน ระยะที่ 1

ประเภท เลขเรียก สถานที่ สถานะ

JC578.T5 ร451 2554 v.1

มุมสิ่งพิมพ์สำนักงาน กสม. บนชั้น ขอยืม

JC578.T5 ร451 2554 v.1 c.1

มุมสิ่งพิมพ์สำนักงาน กสม. บนชั้น ขอยืม

JC578.T5 ร451 2554 v.1 c.2

มุมสิ่งพิมพ์สำนักงาน กสม. บนชั้น ขอยืม

JC578.T5 ร451 2554 v.1 c.3

มุมสิ่งพิมพ์สำนักงาน กสม. บนชั้น ขอยืม
เลขเรียก
JC578.T5 ร451 2554
ผู้แต่ง
ชื่อเรื่อง
รายงานฉบับสมบูรณ์ ทัศนคติของเจ้าหน้าที่ตำรวจเกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมายกับการคุ้มครองสิทธิในกระบวนการยุติธรรมของประชาชน ระยะที่ 1 / คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สุณีย์ กัลยะจิตร, หัวหน้าโครงการวิจัย ; พัชรา สินลอยมา ; ชนิกา ภูวดิษยคุณ
ชื่อเรื่องที่แตกต่าง
ทัศนคติของเจ้าหน้าที่ตำรวจเกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมายกับการคุ้มครองสิทธิในกระบวนการยุติธรรมของประชาชน ระยะที่ 1
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2554.
รูปเล่ม
161 หน้า ; 29 ซม.+1 ซีดี-รอม.
หมายเหตุทั่วไป
จัดทำโดยคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ; คณะผู้วิจัย ประกอบด้วยผศ.ดร. สุณีย์ กัลยะจิตร หัวหน้าโครงการวิจัย, รศ.พ.ต.อ.หญิง ดร.พัชรา สินลอยมา นักวิจัย, อาจารย์ชนิกา ภูวดิษยคุณ ผู้ช่วยนักวิจัย
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่อง “ทัศนคติของเจ้าหน้าที่ตำรวจเกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมายกับการคุ้มครองสิทธิในกระบวนการยุติธรรมของประชาชน ระยะที่ 1” การวิจัย ครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) และผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจ และทัศนคติของเจ้าหน้าที่ตำรวจเกี่ยวกับเรื่องสิทธิมนุษยชน และสิทธิในกระบวนการยุติธรรมของประชาชนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ พันธกรณีระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งหลักการมาตรฐานสากลและอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และนำเสนอแนวทางการบังคับใช้กฎหมายของเจ้าหน้าที่ตำรวจในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิในกระบวนการยุติธรรมของประชาชนเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำไปเป็นนโยบายในการปรับปรุงการบังคับใช้กฎหมาย และอำนวยความยุติธรรมให้กับประชาชนได้อย่างตรงเป้าหมาย โดยมีกลุ่มเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้ คือ เจ้าหน้าที่ตำรวจทั้งระดับสัญญาบัตรและประทวน ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจนครบาล, ตำรวจภูธรภาค 1 ภาค 2 และภาค 7 เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสอบถามและการสัมภาษณ์
หมายเหตุแหล่งที่มา
อภินันทนาการจาก นายวีรวิทย์ วีรวรวิทย์ (8 ต.ค. 57)
หมายเหตุแหล่งที่มา
จัดจ้างโดยวิธีตกลงราคา ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ; จำนวนเงินตามสัญญาจ้าง 800,000 บาท ; ระยะเวลาดำเนินงาน 180 วัน
หัวเรื่องชื่อนิติบุคคล
หัวเรื่องชื่อนิติบุคคล
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
คำศัพท์
คำศัพท์
คำศัพท์เนื้อหา
ผู้แต่งร่วม
ผู้แต่งร่วม
ผู้แต่งนิติบุคคล
ผู้แต่งนิติบุคคล
เชื่อมโยง
เชื่อมโยง
เชื่อมโยง
สารบัญ
LEADER : 00000nab 2200000uu 4500
008   130303s2554||||th 000 0 tha d
050  4^aJC578.T5^bร451 2554
100 0 ^aสุณีย์  กัลยะจิตร
245 00^aรายงานฉบับสมบูรณ์ ทัศนคติของเจ้าหน้าที่ตำรวจเกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมายกับการคุ้มครองสิทธิในกระบวนการยุติธรรมของประชาชน ระยะที่ 1 /^cคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สุณีย์ กัลยะจิตร, หัวหน้าโครงการวิจัย  พัชรา สินลอยมา  ชนิกา ภูวดิษยคุณ  
246 30^aทัศนคติของเจ้าหน้าที่ตำรวจเกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมายกับการคุ้มครองสิทธิในกระบวนการยุติธรรมของประชาชน ระยะที่ 1
260   ^aกรุงเทพฯ :^bคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, ^c2554.
300   ^a161 หน้า ^c29 ซม.+^e1 ซีดี-รอม.
500   ^aจัดทำโดยคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  คณะผู้วิจัย ประกอบด้วยผศ.ดร. สุณีย์ กัลยะจิตร หัวหน้าโครงการวิจัย, รศ.พ.ต.อ.หญิง ดร.พัชรา สินลอยมา นักวิจัย, อาจารย์ชนิกา  ภูวดิษยคุณ  ผู้ช่วยนักวิจัย
520   ^aการวิจัยเรื่อง “ทัศนคติของเจ้าหน้าที่ตำรวจเกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมายกับการคุ้มครองสิทธิในกระบวนการยุติธรรมของประชาชน ระยะที่ 1” การวิจัย ครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) และผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจ และทัศนคติของเจ้าหน้าที่ตำรวจเกี่ยวกับเรื่องสิทธิมนุษยชน และสิทธิในกระบวนการยุติธรรมของประชาชนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ พันธกรณีระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งหลักการมาตรฐานสากลและอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และนำเสนอแนวทางการบังคับใช้กฎหมายของเจ้าหน้าที่ตำรวจในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิในกระบวนการยุติธรรมของประชาชนเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำไปเป็นนโยบายในการปรับปรุงการบังคับใช้กฎหมาย และอำนวยความยุติธรรมให้กับประชาชนได้อย่างตรงเป้าหมาย โดยมีกลุ่มเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้ คือ เจ้าหน้าที่ตำรวจทั้งระดับสัญญาบัตรและประทวน ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจนครบาล, ตำรวจภูธรภาค 1 ภาค 2 และภาค 7 เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสอบถามและการสัมภาษณ์
536   ^aอภินันทนาการจาก นายวีรวิทย์ วีรวรวิทย์ (8 ต.ค. 57)   
536   ^a^aจัดจ้างโดยวิธีตกลงราคา ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม  จำนวนเงินตามสัญญาจ้าง 800,000 บาท  ระยะเวลาดำเนินงาน 180 วัน
610 24^aสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ^xวิจัย
610  24^aสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ^xรายงานการวิจัย
650  4^aกระบวนการยุติธรรม^xการมีส่วนร่วมของประชาชน   
650  4^aหลักนิติธรรม^zไทย^xการมีส่วนร่วมของประชาชน   
650  4^aกระบวนการยุติธรรมทางอาญา^zไทย^xการมีส่วนร่วมของประชาชน 
653   ^aสิทธิในกระบวนการยุติธรรม (Rights in Judicial Process)   
653   ^aสิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
655   ^aรายงานการวิจัย
700 0 ^aพัชรา สินลอยมา,^eนักวิจัย
700 0 ^aชนิกา  ภูวดิษยคุณ,^eผู้ช่วยนักวิจัย
710 2 ^aมหาวิทยาลัยมหิดล. ^bคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 
710 2 ^aสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. ^bสำนักวิจัยและวิชาการ
856 40^zE-book^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/ebook/E06918/ebook.html
856 40^zเอกสารฉบับเต็ม^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Fulltext/F06918.pdf
856 40^zบทสรุปผู้บริหาร^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Summary/S06918.pdf
856 40^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T06918.pdf
917   ^aNHRC :^c350 ^aGift :^c350
955   ^a2 เล่ม ^a1 เล่ม
999   ^acat4
เลื่อนขึ้นด้านบน