ก.พ.ค.ผู้พิทักษ์ระบบคุณธรรม

ประเภท เลขเรียก สถานที่ สถานะ

JQ1746.Z13P44 ก111 2554

มุมหนังสือทั่วไป บนชั้น ขอยืม
เลขเรียก
JQ1746.Z13P44 ก111 2554
ชื่อเรื่อง
ก.พ.ค.ผู้พิทักษ์ระบบคุณธรรม/ คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม สำนักงาน ก.พ.
ชื่อเรื่องที่แตกต่าง
คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรมผู้พิทักษ์ระบบคุณธรรม
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : สำนักงาน ก.พ., 2554.
รูปเล่ม
196 หน้า : ภาพประกอบสี ; 21 ซม.
บทคัดย่อ
หนังสือเล่มนี้มีเนื้อหาสองส่วน ส่วนแรกอธิบายถึงที่มาและบทบาทของ ก.พ.ค. ลักษณะกรณีอุทธรณ์ของข้าราชการพลเรือนต่อ ก.พ.ค. ผลการพิจารณาของ ก.พ.ค. ต่อคำอุทธรณ์ ลักษณะและผลการพิจารณากรณีร้องทุกข์ต่อ ก.พ.ค. และ จำนวนและลักษณะเรื่องอุทธรณ์และร้องทุกข์ที่ร้องต่อ ก.พ.ค. ในส่วนตัวอย่างเรื่องอุทธรณ์ ได้แบ่งออกเป็น 6 ลักษณะ ตั้งแต่ 1. เรื่องอุทธรณ์ ที่ฟังขึ้น และให้ยกเลิกคำสั่ง 2. เรื่องอุทธรณ์ที่วินิจฉัยให้ลดโทษ 3. เรื่องอุทธรณ์ที่ฟังไม่ขึ้น วินิจฉัยให้ยกอุทธรณ์ 4. เรื่องอุทธรณ์ที่สั่งให้ยกเลิกคำสั่งทั้งหมดเพื่อไปแก้ไข โดยไม่วินิจฉัยในประเด็นแห่งอุทธรณ์ 5. เรื่องอุทธรณ์ที่สั่งให้แก้ไขคำสั่งบางส่วน เพื่อไปดำเนินการให้ถูกต้อง และ 6. ตัวอย่างเรื่องอุทธรณ์ที่ ก.พ.ค. สั่งเปลี่ยนฐานความผิดไม่ได้ เนื่องจาก ป.ป.ช.ชี้มูล ในส่วนของการร้องทุกข์ ได้เสนอ ตัวอย่างเรื่องร้องทุกข์ รวม 4 ลักษณะ ได้แก่ 1. เรื่องร้องทุกข์ที่ฟังขึ้น โดยยกเลิกคำสั่งที่ทำให้คับข้องใจ 2. เรื่องร้องทุกข์ที่ฟังไม่ขึ้น 3. ตัวอย่างเรื่องร้องทุกข์ที่ขอให้มีการเยียวยา และ 4. เรื่องร้องทุกข์ที่ ก.พ.ค.สั่งไม่รับไว้พิจารณา เนื้อหาในตอนที่สอง ประกอบด้วย เรื่องระบบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคลภาครัฐ วิกฤติจริยธรรมในการบริหารภาครัฐ การบริหารงานพัสดุภาครัฐ และการป้องกันและปราบปรามคอรัปชั่น.
หัวเรื่องชื่อนิติบุคคล
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
ผู้แต่งนิติบุคคล
สารบัญ
LEADER : 00000nab 2200000uu 4500
008   121018s2554||||th 000 0 tha d
050  4^aJQ1746.Z13P44^bก111 2554
245 00^aก.พ.ค.ผู้พิทักษ์ระบบคุณธรรม/^cคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม สำนักงาน ก.พ.
246 33^aคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรมผู้พิทักษ์ระบบคุณธรรม
260   ^aกรุงเทพฯ :^bสำนักงาน ก.พ.,^c2554.
300   ^a196 หน้า :^bภาพประกอบสี ^c21 ซม.
520   ^aหนังสือเล่มนี้มีเนื้อหาสองส่วน ส่วนแรกอธิบายถึงที่มาและบทบาทของ ก.พ.ค.  ลักษณะกรณีอุทธรณ์ของข้าราชการพลเรือนต่อ ก.พ.ค. ผลการพิจารณาของ ก.พ.ค. ต่อคำอุทธรณ์  ลักษณะและผลการพิจารณากรณีร้องทุกข์ต่อ ก.พ.ค.  และ จำนวนและลักษณะเรื่องอุทธรณ์และร้องทุกข์ที่ร้องต่อ ก.พ.ค.  ในส่วนตัวอย่างเรื่องอุทธรณ์ ได้แบ่งออกเป็น  6 ลักษณะ ตั้งแต่ 1. เรื่องอุทธรณ์ ที่ฟังขึ้น และให้ยกเลิกคำสั่ง  2. เรื่องอุทธรณ์ที่วินิจฉัยให้ลดโทษ  3. เรื่องอุทธรณ์ที่ฟังไม่ขึ้น วินิจฉัยให้ยกอุทธรณ์   4. เรื่องอุทธรณ์ที่สั่งให้ยกเลิกคำสั่งทั้งหมดเพื่อไปแก้ไข โดยไม่วินิจฉัยในประเด็นแห่งอุทธรณ์  5. เรื่องอุทธรณ์ที่สั่งให้แก้ไขคำสั่งบางส่วน เพื่อไปดำเนินการให้ถูกต้อง  และ 6. ตัวอย่างเรื่องอุทธรณ์ที่ ก.พ.ค. สั่งเปลี่ยนฐานความผิดไม่ได้ เนื่องจาก  ป.ป.ช.ชี้มูล ในส่วนของการร้องทุกข์ ได้เสนอ ตัวอย่างเรื่องร้องทุกข์ รวม 4 ลักษณะ ได้แก่ 1. เรื่องร้องทุกข์ที่ฟังขึ้น โดยยกเลิกคำสั่งที่ทำให้คับข้องใจ  2. เรื่องร้องทุกข์ที่ฟังไม่ขึ้น   3. ตัวอย่างเรื่องร้องทุกข์ที่ขอให้มีการเยียวยา  และ  4. เรื่องร้องทุกข์ที่ ก.พ.ค.สั่งไม่รับไว้พิจารณา      เนื้อหาในตอนที่สอง ประกอบด้วย เรื่องระบบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคลภาครัฐ  วิกฤติจริยธรรมในการบริหารภาครัฐ การบริหารงานพัสดุภาครัฐ  และการป้องกันและปราบปรามคอรัปชั่น.
610 24^aคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม^xการบริหาร
650  4^aข้าราชการพลเรือน^xกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ  
650  4^aข้าราชการพลเรือน^xการบริหารงานบุคคล  
650  4^aระบบคุณธรรม
710 1 ^aสำนักงาน ก.พ.^bคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม
856 40^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T05843.pdf
917   ^aGift :^c300
955   ^a1 เล่ม
999   ^anopparat
เลื่อนขึ้นด้านบน