การเมืองของระบบเลือกตั้ง : อำนาจ ความขัดแย้ง และประชาธิปไตย

ประเภท เลขเรียก สถานที่ สถานะ

JQ1749.A5 ป222 2566

มุมหนังสือทั่วไป บนชั้น ขอยืม
ISBN
9786164763565 (pbk.)
เลขเรียก
JQ1749.A5 ป222 2566
ผู้แต่ง
ชื่อเรื่อง
การเมืองของระบบเลือกตั้ง : อำนาจ ความขัดแย้ง และประชาธิปไตย / ประจักษ์ ก้องกีรติ
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า, 2566
รูปเล่ม
212 หน้า ; 21 ซม.
หมายเหตุสารบัญ
บทที่ 1 ระบบเลือกตั้ง ความขัดแย้ง และประชาธิปไตย : การเลือกตั้ง ความขัดแย้ง และคุณภาพประชาธิปไตย
--การออกแบบการเมืองและระบบการเลือกตั้ง: แนวคิดทฤษฎี
--ระบบเลือกตั้ง: กลไก ความสัมพันธ์เชิงอำนาจ และผลกระทบ
--การเลือกตั้งในฐานะกลไกเชิงสถาบันเพื่อแก้ไขความขัดแย้งและความรุนแรง
--ที่มา หนทางสู่การปฏิรูป และการเมืองของการออกแบบระบบเลือกตั้ง (politics of electoral system design)
--ประเภทของระบบเลือกตั้ง: คุณลักษณะและความแตกต่างหลากหลาย
--คุณภาพประชาธิปไตยและประชาธิปไตยที่มั่นคงยั่งยืน (Consolidated Democracy).
หมายเหตุสารบัญ
บทที่ 2 พัฒนาการของระบบเลือกตั้งของไทย: การออกแบบเชิงสถาบัน การจัดสรรอำนาจ และความขัดแย้งทางการเมือง : ความเปลี่ยนแปลงในระบบเลือกตั้งของไทย และหนทางสู่การแก้ไขความขัดแย้งและสร้างประชาธิปไตยที่มีคุณภาพ
--การเมืองเรื่องการเลือกตั้งจาก พ.ศ. 2544 ถึง พ.ศ. 2562
--ระบบเลือกตั้งในรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2540 และ พ.ศ. 2550: การออกแบบเชิงสถาบันและความขัดแย้งทางการเมือง
--ระบบเลือกตั้งในรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2560: การเมืองของการออกแบระบบเลือกตั้ง.
หมายเหตุสารบัญ
บทที่ 3 เปรียบเทียบระบบเลือกตั้งของไทยจากรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2540 ถึง พ.ศ. 2560
--บทที่ 4 ข้อเสนอในการปฏิรูป: ระบบเลือกตั้งผสมแบบสัดส่วนเพื่อลดความขัดแย้งและเสริมสร้างคุณภาพประชาธิปไตย : ออกแบบระบบเลือกตั้งใหม่เพื่อประชาธิปไตยที่ยั่งยืน.
บทคัดย่อ
ระบบเลือกตั้งของไทยถูกเปลี่ยนบ่อยครั้งอันเนื่องจากความขัดแย้งและความไร้เสถียรภาพทางการเมืองในรอบ 2 ทศวรรษ ประเทศไทยเปลี่ยนระบบเลือกตั้งถึง 4 ครั้ง การเปลี่ยนระบบเลือกตั้งบ่อยครั้งเช่นนี้ สะท้อนการขาดฉันทามติในสังคมไทยในเรื่องกติกาพื้นฐานในการขึ้นสู่อำนาจ และสะท้อนว่าระบบเลือกตั้งแต่ละระบบยังไม่ตอบโจทย์ในเรื่องการแก้ปัญหาความขัดแย้งในสังคมไทย หนังสือเล่มนี้ได้สำรวจลักษณะเด่นของระบบเลือกตั้งผสมแบบสัดส่วนที่ประเทศเยอรมนีเป็นต้นแบบในการคิดค้น และปรเทศนิวซีแลนด์ได้นำมาใช้จนประสบผลสำเร็จ ซึ่งระบบเลือกตั้งผสมแบบสัดส่วนมีข้อดีทั้งในการสร้างความเป็นสัดส่วนและเสถียรภาพของรัฐบาลและระบบพรรคการเมืองซึ่งเหมาะสมสอดคล้องกับบริบทของความขัดแย้งและประชาธิปไตยของไทย.
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่องภูมิศาสตร์
คำศัพท์
ผู้แต่งนิติบุคคล
สารบัญ
LEADER : 00000nab 2200000uu 4500
008   240927s2566||||th 000 0 tha d
020   ^a9786164763565 (pbk.)
050  4^aJQ1749.A5^bป222 2566
100 0 ^aประจักษ์ ก้องกีรติ
245 10^aการเมืองของระบบเลือกตั้ง :^bอำนาจ ความขัดแย้ง และประชาธิปไตย /^cประจักษ์ ก้องกีรติ
260   ^aกรุงเทพฯ :^bวิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า, ^c2566
300   ^a212 หน้า  ^c21 ซม.
505 0 ^aบทที่ 1 ระบบเลือกตั้ง ความขัดแย้ง และประชาธิปไตย : การเลือกตั้ง ความขัดแย้ง และคุณภาพประชาธิปไตย --^tการออกแบบการเมืองและระบบการเลือกตั้ง: แนวคิดทฤษฎี --^tระบบเลือกตั้ง: กลไก ความสัมพันธ์เชิงอำนาจ และผลกระทบ --^tการเลือกตั้งในฐานะกลไกเชิงสถาบันเพื่อแก้ไขความขัดแย้งและความรุนแรง --^tที่มา หนทางสู่การปฏิรูป และการเมืองของการออกแบบระบบเลือกตั้ง (politics of electoral system design) --^tประเภทของระบบเลือกตั้ง: คุณลักษณะและความแตกต่างหลากหลาย --^tคุณภาพประชาธิปไตยและประชาธิปไตยที่มั่นคงยั่งยืน (Consolidated Democracy).
505 0 ^aบทที่ 2 พัฒนาการของระบบเลือกตั้งของไทย: การออกแบบเชิงสถาบัน การจัดสรรอำนาจ และความขัดแย้งทางการเมือง : ความเปลี่ยนแปลงในระบบเลือกตั้งของไทย และหนทางสู่การแก้ไขความขัดแย้งและสร้างประชาธิปไตยที่มีคุณภาพ --^tการเมืองเรื่องการเลือกตั้งจาก พ.ศ. 2544 ถึง พ.ศ. 2562 --^tระบบเลือกตั้งในรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2540 และ พ.ศ. 2550: การออกแบบเชิงสถาบันและความขัดแย้งทางการเมือง --^tระบบเลือกตั้งในรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2560: การเมืองของการออกแบระบบเลือกตั้ง.
505 0 ^aบทที่ 3 เปรียบเทียบระบบเลือกตั้งของไทยจากรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2540 ถึง พ.ศ. 2560 --^tบทที่ 4 ข้อเสนอในการปฏิรูป: ระบบเลือกตั้งผสมแบบสัดส่วนเพื่อลดความขัดแย้งและเสริมสร้างคุณภาพประชาธิปไตย : ออกแบบระบบเลือกตั้งใหม่เพื่อประชาธิปไตยที่ยั่งยืน.
520   ^aระบบเลือกตั้งของไทยถูกเปลี่ยนบ่อยครั้งอันเนื่องจากความขัดแย้งและความไร้เสถียรภาพทางการเมืองในรอบ 2 ทศวรรษ ประเทศไทยเปลี่ยนระบบเลือกตั้งถึง 4 ครั้ง การเปลี่ยนระบบเลือกตั้งบ่อยครั้งเช่นนี้ สะท้อนการขาดฉันทามติในสังคมไทยในเรื่องกติกาพื้นฐานในการขึ้นสู่อำนาจ และสะท้อนว่าระบบเลือกตั้งแต่ละระบบยังไม่ตอบโจทย์ในเรื่องการแก้ปัญหาความขัดแย้งในสังคมไทย หนังสือเล่มนี้ได้สำรวจลักษณะเด่นของระบบเลือกตั้งผสมแบบสัดส่วนที่ประเทศเยอรมนีเป็นต้นแบบในการคิดค้น และปรเทศนิวซีแลนด์ได้นำมาใช้จนประสบผลสำเร็จ ซึ่งระบบเลือกตั้งผสมแบบสัดส่วนมีข้อดีทั้งในการสร้างความเป็นสัดส่วนและเสถียรภาพของรัฐบาลและระบบพรรคการเมืองซึ่งเหมาะสมสอดคล้องกับบริบทของความขัดแย้งและประชาธิปไตยของไทย.
650  4^aการเลือกตั้ง^zไทย  
650  4^aการเลือกตั้ง^xการศึกษาเปรียบเทียบ  
650  4^aประชาธิปไตย^zไทย  
650  4^aความขัดแย้งทางการเมือง^zไทย  
650  4^aความขัดแย้งทางสังคม^zไทย  
650  4^aการบริหารความขัดแย้ง^zไทย
651  4^aไทย^xการเมืองและการปกครอง
653   ^aNew Arrivals 12-2024
710 2 ^aสถาบันพระปกเกล้า. ^bวิทยาลัยการเมืองการปกครอง
856 40^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T13996.pdf
917   ^aGift :^c180
955   ^a1 เล่ม
999   ^aSaithip
เลื่อนขึ้นด้านบน