Page 9 - แนวปฏิบัติเพื่อการจัดการร่วมประเด็นสิทธิมนุษยชน : สิทธิชุมชนกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และการพัฒนารวมถึงสิทธิอื่นที่เกี่ยวข้อง
P. 9

สิทธิชุมชน กับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ   9
                                                       สิ่งแวดล้อม และการพัฒนารวมถึงสิทธิอื่นที่เกี่ยวข้อง



                            •  เป็นสิทธิเชิงกลุ่ม เป็นระบบจัดการร่วมโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
                            •  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ก�าหนดไว้ ๒ ส่วน ดังนี้


                            ๑. เป็นสิทธิ บุคคลและชุมชนมีสิทธิในการจัดการ บ�ารุงรักษา และใช้ประโยชน์จาก
                            ทรัพยากรธรรมชาติฯ อย่างสมดุลและยั่งยืน และร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                            หรือรัฐในการด�าเนินการดังกล่าว เป็นสิทธิที่เกิดขึ้นแล้ว ใช้สิทธิได้ทันที ใช้สิทธิทางศาล
                            หรือยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้คดีในศาลได้ (มาตรา ๔๓ (๒) + ๒๕)



                            ๒. เป็นหน้าที่ของรัฐ
                               •  รัฐมีหน้าที่ให้ประชาชนและชุมชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ คุ้มครอง บ�ารุงรักษา ฟื้นฟู
                            บริหารจัดการ และใช้ หรือจัดให้มีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติฯ ให้เกิด
                            ประโยชน์อย่างสมดุลและยั่งยืน โดยต้องให้ประชาชนและชุมชนในท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง
                            มีส่วนร่วมด�าเนินการและได้รับประโยชน์จากการด�าเนินการดังกล่าวด้วย (มาตรา ๕๗ (๒))
                               •  รัฐต้องด�าเนินการให้มีการศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม
                            และสุขภาพ และจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสียและประชาชนและ
                            ชุมชนที่เกี่ยวข้องก่อนการด�าเนินการใดของรัฐหรือที่รัฐจะอนุญาตให้ผู้ใดด�าเนินการที่อาจมี
                            ผลกระทบอย่างรุนแรง โดยชุมชนมีสิทธิในการได้รับข้อมูล ค�าชี้แจง และเหตุผลจากหน่วยงาน
                            ของรัฐก่อนการด�าเนินการ และรัฐต้องด�าเนินการอย่างระมัดระวัง หากเกิดผลกระทบขึ้น
                            ต้องมีการเยียวยาอย่างเป็นธรรมและไม่ชักช้า (มาตรา ๕๘)
                               •  หากหน้าที่ของรัฐเป็นการท�าเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนโดยตรง ประชาชน
                            และชุมชนมี “สิทธิที่จะติดตามและเร่งรัดให้รัฐด�าเนินการ รวมทั้งฟ้องร้องหน่วยงานของ
                            รัฐที่เกี่ยวข้อง” ได้ (มาตรา ๕๑)





                            ระบบการจัดการธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เป็นระบบการจัดการโดยรัฐ ได้ก่อให้เกิด
                            ความขัดแย้งระหว่างรัฐกับชุมชนอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นการจัดการทรัพยากรทางทะเล
                            และชายฝั่ง การจัดการทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ การด�าเนินโครงการพัฒนาต่าง ๆ แม้ที่ผ่านมา
                            รัฐจะแก้ไขไปแล้วหลายเรื่อง แต่ยังมีเนื้อหาบางส่วนที่ไม่เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ เพราะยังใช้
                            ระบบจัดการโดยรัฐเป็นส�าคัญ และยังให้ความส�าคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชน
                            และชุมชนค่อนข้างน้อย
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14