Page 15 - แนวปฏิบัติเพื่อการจัดการร่วมประเด็นสิทธิมนุษยชน : สิทธิชุมชนกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และการพัฒนารวมถึงสิทธิอื่นที่เกี่ยวข้อง
P. 15

สิทธิชุมชน กับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ   15
                                                       สิ่งแวดล้อม และการพัฒนารวมถึงสิทธิอื่นที่เกี่ยวข้อง


                   ทั้งนี้  ในส่วน  การก�าหนดความหมาย

             “ชุมชน” ได้แสดงไว้ในกฎหมายบางฉบับ อาทิ
             มาตรา ๔ พระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. ๒๕๖๒
             ก�าหนดว่า “ชุมชน” หมายความว่า กลุ่มประชาชน
             ที่รวมตัวกันโดยมีวัตถุประสงค์หรือผลประโยชน์

             ร่วมกันเพื่อท�ากิจกรรมอันชอบด้วยกฎหมาย รวมทั้ง
             ช่วยเหลือหรือสนับสนุนการด�าเนินการใด ๆ อันเป็น
             ประโยชน์ร่วมกันของประชาชนในชุมชนนั้น โดยมี
             การรวมตัวกันอย่างต่อเนื่อง มีระบบบริหารจัดการ

             ในรูปของคณะบุคคล และมีการแสดงเจตนาแทน              บุค ค ลและ ชุม ช น
                                                                สามารถใช้สิทธิได้ทันที
             ชุมชนได้ ซึ่งมีความใกล้เคียงกับนิยาม “ชุมชน”       ตามเจำตนารมณ์ของ
             ตามมาตรา ๓ พระราชบัญญัติสภาองค์กรชุมชน             รัฐธรรมนูญ แม้จำะยัง
             พ.ศ. ๒๕๕๑                                          ไม่มีกฎหมายก�หนด
                                                                วิธีการใช้สิทธิไว้ก็ตาม
                                                                และหากเกิดการละเมิด
                   เมื่อพิจารณาความหมายของ “ชุมชน” ตาม          สิทธิขึ้น บุคคลหรือชุมชน
             พระราชบัญญัติข้างต้น จึงมีข้อสังเกตว่า วิวัฒนาการ  ก็สามารถยกบทบัญญัติ
             ทางกฎหมายของค�าว่า  “ชุมชน”  มิได้จ�ากัด           แห่งรัฐธรรมนูญดังกล่าว
                                                                เพื่อใช้สิทธิทางศาลหรือ
             อยู่เฉพาะชุมชนตามเขตการปกครองเท่านั้น ชุมชนอาจ     ยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้คดี
             พิจารณาได้ในหลายลักษณะ โดยเป็นกลุ่มประชาชน         ในศาลได้
             ที่มีวัตถุประสงค์ร่วมกัน  เป็นชุมชนหนึ่งเดียว
             หรือหลาย ๆ ชุมชน ซึ่งมีลักษณะหรือความสัมพันธ์

             ร่วมทางสังคมและวัฒนธรรม มีการจัดการ บ�ารุงรักษา
             และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรร่วมกัน โดยเป็นไปตาม
             ระเบียบกฎเกณฑ์หรือข้อตกลงที่ยึดถือ สืบทอด
             และปฏิบัติร่วมกัน อาทิ ชุมชนในลักษณะขบวนการ

             เคลื่อนไหวทางสังคม ซึ่งเป็นการรวมตัวของกลุ่มคน
             ที่มีอุดมการณ์หรือความเชื่อแบบเดียวกัน เช่น
             กลุ่มอนุรักษ์ต่าง ๆ ก็ย่อมถือเป็นชุมชนที่มีสิทธิชุมชนได้
             นอกจากนี้  ยังอาจหมายถึงชุมชนเสมือนจริง

             ซึ่งเกิดมาพร้อมกับเทคโนโลยีสมัยปัจจุบันด้วย ๒

             ๒   ดูข้ออภิปรายเพิ่มเติมใน พลวัตในการจัดการทรัพยากร: กระบวนทัศน์และนโยบาย, โดย อานันท์ กาญจนพันธุ์, ๒๕๔๔ กรุงเทพมหานคร:
             ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20