Page 12 - แนวปฏิบัติเพื่อการจัดการร่วมประเด็นสิทธิมนุษยชน : สิทธิชุมชนกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และการพัฒนารวมถึงสิทธิอื่นที่เกี่ยวข้อง
P. 12

12   สำ�นักงานคณะกรรมการสำิทธิมนุษยชนแห่งชาติ




               สิทธิชุมชน กับการจำัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ
               การพัฒนารวมถึงสิทธิอื่นที่เกี่ยวข้อง



                   นับตั้งแต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ จนถึงรัฐธรรมนูญ
             แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ล้วนได้บัญญัติรับรอง “สิทธิชุมชน” ในฐานะ

             “สิทธิเชิงกลุ่ม” โดยให้สิทธิแก่ชุมชนในการมีส่วนร่วมในการจัดการ บ�ารุงรักษา และ
             ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม


                   บทบัญญัติดังกล่าวท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแนวคิดการจัดการทรัพยากร

             ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จากเดิมที่ให้อ�านาจและบทบาทการจัดการโดยรัฐเป็นส�าคัญ
             มาสู่การให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการกับรัฐ กลายเป็นระบบ “การจัดการร่วมที่มี
             ชุมชนเป็นฐาน” ซึ่งชุมชนมีบทบาทหลักในการจัดการ โดยรัฐท�าหน้าที่สนับสนุนส่งเสริม



                                ลักษณะส�คัญของสิทธิชุมชน ๒ ด้าน




                   ด้านที่หนึ่ง : เป็นสิทธิเชิงซ้อน  ด้านที่สอง : เป็นทั้งสิทธิเชิงเนื้อหา
                                                         และสิทธิเชิงกระบวนการ

               ภายใต้ข้อตกลงจัดการร่วมกัน ชุมชนมี   •  สิทธิเชิงเนื้อหา เป็นสิทธิที่เป็นสาระ

               และสามารถใช้สิทธิหลายประเภท ซึ่ง       และมีเนื้อหาเป็นของตัวเองโดย
               สัมพันธ์และเกี่ยวข้องกัน เช่น การจัดการ   สมบูรณ์ เช่น สิทธิในสุขภาพ สิทธิในชีวิต
               การบ�ารุงรักษา และการใช้ประโยชน์       สิทธิในร่างกาย สิทธิในทรัพย์สิน เป็นต้น
               ซึ่งแต่ละประเภทมีการทับซ้อนในแต่ละระดับ   •  สิทธิเชิงกระบวนการ ท�าหน้าที่เชิง
               แตกต่างกัน และสามารถปรับเปลี่ยน        กระบวนการภายใต้แนวคิดการมีส่วนร่วม
               ได้ตามเงื่อนไขที่ก�าหนด เช่น บางเงื่อนไขสิทธิ  ของประชาชน เช่น สิทธิในการเข้าถึง
               ความเป็นเจ้าของทรัพยากรบางประเภท       ข้อมูลข่าวสาร สิทธิในการมีส่วนร่วม

               เป็นของรัฐ  หรือของบุคคลในชุมชน        ตัดสินใจ เป็นต้น โดยสิทธิเชิงกระบวนการ
               แต่ชุมชนมีสิทธิในการใช้ประโยชน์ และ    ถือเป็นเครื่องมือส�าคัญในการพัฒนา
               การจัดการ เป็นต้น                      รักษาไว้และขับเคลื่อนไปสู่การส่งเสริม
                                                      และคุ้มครองสิทธิในเชิงเนื้อหา
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17