Page 5 - คู่มือการจัดการเรียนรู้สิทธิมนุษยชนศึกษา : ระดับประถมศึกษาตอนต้น
P. 5

คูมือการจัดการเรียนรูสิทธิมนุษยชนศึกษา • ระดับประถมศึกษาตอนตน



                            1. การเคารพในศักดิ์ศรีความเปนมนุษย
                            2. การเชื่อมั่นในความเทาเทียมของบุคคล โดยปราศจากการแบงแยก

                            3. การศรัทธาในสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
                            4. การปฏิบัติตอผูอื่นในฐานะที่เปนเพื่อนมนุษยเชนเดียวกัน

                     หลักการสิทธิมนุษยชนพื้นฐาน 4 ประการดังกลาว ยังถือเปนหลักการสําคัญในปฏิญญาสากล
              วาดวยสิทธิมนุษยชนซึ่งถือกําเนิดขึ้น เพื่อใหทุกคนไดเรียนรูและเขาใจรวมกันในหลักการสิทธิมนุษยชน

              จนนําไปสูการยอมรับและเกิดเปนวัฒนธรรมการเคารพสิทธิมนุษยชนขึ้นในที่สุดและเปนหัวใจสําคัญยิ่ง
              ที่เราทุกคนควรจะไดตระหนักและนํามาปรับใชในบริบทของตนเอง  โดยเฉพาะครูบาอาจารย  ซึ่งเปน
              ผูมีบทบาทสําคัญยิ่งตอการกอรางสรางฐานอันมั่นคงใหแกสังคมโดยการปลูกฝงใหเด็กและเยาวชนไดเรียนรู
              และตระหนักถึงคุณคาของสิทธิมนุษยชนผานการประยุกตใชในบทเรียน  กิจกรรมการเรียนการสอน

              และวิถีชีวิตประจําวัน

                     และเนื่องดวยความสําคัญในการสงเสริมสิทธิมนุษยชนตามหลักการสากล  รัฐธรรมนูญ
              แหงราชอาณาจักรไทย  พุทธศักราช  2560  จึงไดบัญญัติใหมีองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ  ไดแก
              คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ โดยมีหนาที่และอํานาจสําคัญประการหนึ่งตามมาตรา 247 (5)

              ในการสรางเสริมทุกภาคสวนของสังคมใหตระหนักถึงความสําคัญของสิทธิมนุษยชน มีหนาที่และอํานาจ
              ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2560 มาตรา 27
              (1) (2) และ (3) ในการสงเสริม สนับสนุน ใหความรวมมือแกบุคคล หนวยงานของรัฐ และภาคเอกชน ใน
              การศึกษา  วิจัย  เผยแพรความรูและพัฒนาความเขมแข็งดานสิทธิมนุษยชน  สงเสริม  เผยแพรใหเด็ก

              เยาวชน รวมทั้งประชาชนทั่วไปตระหนักถึงสิทธิมนุษยชนของแตละบุคคลที่ทัดเทียมกัน และการเคารพใน
              สิทธิมนุษยชนของบุคคลอื่น ซึ่งอาจแตกตางกันในทางวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และศาสนา

                     ทั้งนี้  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติในฐานะสถาบันดานสิทธิมนุษยชนระดับชาติ
              ตามที่กลาวมาไดเล็งเห็นวา การจะสงเสริมสิทธิมนุษยชนศึกษาใหงอกงามยั่งยืนนั้น จะตองเรงใหเกิดแนวทาง

              อยางเปนระบบในการสรางเสริมสิทธิมนุษยชนในสถานศึกษาทั่วประเทศ โดยการรวมมือกับกระทรวง
              ศึกษาธิการซึ่งกํากับดูแลสถานศึกษาในสังกัดกวา 30,000 แหง มีบุคลากรทางการศึกษา กวา 400,000 คน


              4
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10